Page 36 - Demo
P. 36
31
ศักยภาพของเยาวชนในพื้นที่ผ่าน การอบรมเชิงปฏิบัติ การ 5 ฐานการเรียนรู้ โดยนักศึกษารายวิชา SSC 221 ตามวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ ฐานที่ 1 วิถีแห่งการชง ชาและผลิตภัณฑ์ แปรรูปจากเผือก เพื่อสอนวิธีการ ชงชาที่ถูกต้อง และสอนการแปรรูป เผือกให้เป็นขนม ทานคู่กับชา ฐานที่ 2 ละอ่อนน้อยปิ๊กบ้านเฮา เพื่อ สอนวิธีการออมเงินที่ถูกต้อง และฝึกทักษะ การนําา เสนอที่ดี (เน้นการพูด, การฟังและการแสดง) ฐานที่ 3 แพ็กเกจ แพ็กกล่อง เพื่อให้ความรู้การออกแบบ บรรจุภัณฑ์สินค้า ฐานที่ 4 พวงกุญแจตุ๊กตากาดละ อ่อน เพื่อสอนการทําาพวงกุญแจรูปมัคคุเทศก์น้อย และชุดประจําาท้องถิ่น และฐานที่ 5 ละอ่อนออนไลน์ เพื่อสอนกระบวนการถ่ายภาพและนําาเสนอวิถีชีวิต ผ่านภาพที่นําาเสนอบนสื่อออนไลน์ กิจกรรมครั้งมีการ สะท้อนประเด็นการเรียนรู้ การสรุปบทเรียน และการ ถอดบทเรียนจากการลงพื้นที่ เพื่อใช้เป็นแนวทางใน การพัฒนาศักยภาพเยาวชนในพื้นที่ในอนาคต ทั้งนี้มี ผู้เข้าร่วมโครงการจําานวน 86 คน
- โครงการสําารวจพื้นที่การให้บริการวิชาการ จังหวัดราชบุรี
วนัองัคารท่ี12ถงึวนัพฤหสับดที1่ี4ธนัวาคม2560 คณะศิลปศาสตร์ ได้จัดโครงการสําารวจพื้นที่การ ให้บริการวิชาการ จังหวัดราชบุรี โดยในวันท่ี 12 ธันวาคม 60 มีการประชุมเตรียมความพร้อมและ บรรยายพิเศษในหัวข้อ “การให้บริการสังคมและ ชุมชน มจธ.ราชบุรี” โดย รศ.ดร. สมชาย จันทร์ชาวนา รองอธิการบดี มจธ.ราชบุรี ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ และผู้สนใจ และวันที่ 13 -14 ธันวาคม 60 เดินทาง ไปโรงเรียนกลุ่มนักข่าวหญิง 2 (บ้านบ่อหวี) เพื่อไป ศึกษาวิถีชีวิตชุมชนชาวกะเหรี่ยง ชมการแสดงโดย เด็กกะเหร่ียง ทั้งนี้ทางคณะฯ ได้นําาส่ิงของ และเงิน สมทบทุนบริจาคให้กับทางโรงเรียน จากน้นั เดินทาง ไปอุทยานธรรมชาติวิทยา และ เดินป่าศึกษาธรรมชาติ
เส้นทางเขากระโจม จากการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ทําาให้ผู้ เข้าร่วมโครงการมีโอกาส ศึกษาเรียนรู้พ้ืนท่ีการศึกษาที่ มจธ.ราชบุรีทราบถึงปัญหาและความต้องการของชุมชน และได้แนวทาง ในการสร้างความตระหนักด้านจิตอาสา ในการพัฒนาชุมชน บริการสังคม การช่วยเหลือเกื้อกูล กันและทําางานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน หลังจัดกิจกรรม จะมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้กับบุคลากร ทั้งคณะฯ