Page 13 - FruitOfThailand
P. 13

ชื่อสามัญ Jackfruit
Jakfruit ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus heterophyllus Lam จัดอยู่ในวงศ์ ขนุน
(MORACEAE)
ผลไม้ขนุน มีชื่อท้องถิ่นอื่นๆ ว่า ขะนู (จันทบุรี) นะยวยซะ (กาญจนบุรี) เนน (นครราชสีมา) ซีคึย ปะหน่อย หมากกลาง (แม่ฮ่องสอน) นากอ นากอ (ปัตตานี) มะหนุน (ภาคเหนือ ภาคใต้) ลาน ล้าง (ภาค (ภาค เหนือ) เหนือ) หมักหมี้ (ตะวันอองเฉียงเหนือ) และชื่ออื่นๆ เช่น ขะเนอ ขนู นากอ นากอ มะยวยซะ Jack fruit
tree เป็นต้น
พันธุ์ขนุน พันธุ์ขนุน มีอยู่หลายสายพันธุ์ ซึ่งสีของเนื้อก็แตกต่างกันออกไปด้วยตามแต่ละสายพันธุ์ ขนุนบาง สายพันธุ์มีรสหวานใช้รับประทานได้ โดยสายพันธุ์ขนุนที่ นิยมปลูกในประเทศไทยก็ได้แก่ พันธุ์ตาบ๊วย (ผลใหญ่ (ผลใหญ่ เนื้อหนา พันธุ์ทองสุดใจ (ผลใหญ่ยาว เนื้อเหลือง) พันธุ์ฟ้าถล่ม (ผลค่อนข้างกลมและใหญ่มาก มีเนื้อสีเหลืองทอง) พันธุ์ พันธุ์ พันธุ์ พันธุ์ (ผลขนาดกลาง รสหวานอมเปรี้ยว เนื้อสีเหลือง) เป็นต้น
ต้นขนุนจัด เป็น เป็น 1 ใน 9 ไม้มงคลของไทย ไม้ขนุนมีความหมายว่า การช่วยหนุนบารมี เงินทอง ให้ดียิ่งขึ้น มีผู้ให้การเกื้อหนุนจุนเจือ โดยนิยมปลูกไว้หลังบ้านด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้
นอกจากขนุนจะเป็นไม้มงคลนามแล้ว ก็ยังเป็นผลไม้ที่มีเนื้อหอมหวานอร่อยอีกด้วย เป็นอาหารได้หลากหลายเมนู ประทานแต่น้อยเพราะมีรสหวาน นอกจากนี้ยังมีสรรพคุณเป็นยาสมุนไพรอีกด้วย ยารักษาอาการต่างๆ ได้แก่ ใบ ยวง เมล็ด แก่น ส่าแห้งของขนุน
ประโยชน์ของขนุน
ชว่ ยบา รงุ โลหติ ทา ใหเ้ ลอื ดเยน็ (แกน่ ขนนุ ขนนุ หนงั หรอื ขนนุ ขนนุ ละมดุ ราก แกน่ แกน่ )
ชูหัวใจให้สดชื่น (เน้ือหุ้มเมล็ดสุก เนื้อใน เมล็ด เมล็ด เมล็ด ผลสุก เมล็ด)
เมล็ด)
(เมล็ด)
ขนนุ หนงั เปน็ ผลไมท้ ม่ี วี ติ ติ ามนิ ามนิ อสี งู งู ตดิ 10 อนั ดบั แรกของผลไม้ และยงั มี วติ ามนิ ามนิ ซสี งู งู ชว่ ชว่ ยตอ่ ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ ระ และชว่ ยปอ้ งกนั การเกดิ โรคมะเรง็ (ผลสุก) เพียงแค่ ใช้ใบขนุนแก่ 5-10 ใบ ใบ ใบ 3 แก้ว เค่ียวนานประมาณ 15 นาที (ใบ)
(ใบ)
ช่วยระงับประสาท (ใบ)
(ใบ)
ช่วยแก้โรคลมชัก (ใบ)
(ใบ)
ใบขนุนละมุด ใบขนุนละมุด แก้ แก้ อาการปวดหู (ใบขนุนละมุด) ใบขนุนใช้ต้มดื่มช่วยแก้อาการท้องเสียได้ (ใบ (ใบ ราก) เมล็ดช่วยแก้อาการปวดท้อง (เมล็ดขนุน)
ใช้เป็นยาระบายอ่อนๆ (เนื้อหุ้มเมล็ด ผลสุก) (แก่น)
เม็ดขนุน มีสารพรีไบโอติกหรือสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตท่ี ทนต่อการย่อยของกระเพาะอาหารและการดูดซึมของล�าไส้เล็กตอน บน ซ่ึงช่วยดูดซึมแร่ธาตุอย่างแคลเซียม เหล็ก สร้างสารป้องกันโรค โดยไม่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของแบคทีเรียก่อ โรคแต่อย่างใด (เมล็ด)
ไส้ในของขนุนละมุด ใช้รับประทานช่วยแก้อาการตกเลือดในทวารเบา ของสตรีที่มีมากไปให้หยุดได้ (ไส้ในขนุน)
แก่นและเนื้อไม้ของต้นขนุน ช่วยขับพยาธิ (ใบ)
ใช้แก้โรคผิวหนังต่างๆ (ใบ (ใบ ราก) ช่วยรักษาแผลมีหนองเรื้อรัง (ยาง ใบ)
ช่วยสมานแผล (แก่น)
ใช้ทาแผลบวมอักเสบ (ยาง) (ยาง) (ยาง) ช่วยในการจับกลุ่มอสุจิ เม็ดเลือดแดง แบคทีเรีย สารในของเหลว ของร่างกาย
เม็ดขนุน เม็ดขนุน (เม็ดขนุน)
(เนื้อหุ้มเมล็ดสุก)
ช่วยแก้อาการเมาสุรา (ผลสุก) แก่นของต้นขนุน นิยม น�ามาใช้ย้อมสีจีวรพระ ส่าแห้งของขนุนน�ามาใช้ท�าเป็นชุดจุดไฟได้ เน้ือไม้ของต้นขนุนสามารถน�ามาใช้ท�าเฟอร์นิเจอร์และเครื่องดนตรีได้ เมล็ดและยวงสามารถน�ามารับประทานเป็นอาหารได้ เน้ือขนุนสุกน�ามารับประทานเป็นผลไม้และท�าเป็นขนมได้หลายชนิด เช่น เช่น ใส่ในไอศกรีม ลอดช่อง กินกับข้าวเหนียวมูน เช่น เช่น แกงขนุน ขนุนอบกรอบ เป็นต้น
คุณค่าทางโภชนาการของขนุน ต่อ 100 กรัม
พลังงาน 95 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต 23 25 กรัม
กรัม
19 08 กรัม
กรัม
เส้นใย 1 1 5 กรัม
กรัม
กรัม
ไขมัน 0 64 กรัม
กรัม
กรัม
โปรตีน 1 72 กรัม
กรัม
วิตามินเอ 5 ไมโครกรัม ไมโครกรัม 1% เบตาแคโรทีน 61 ไมโครกรัม ไมโครกรัม ไมโครกรัม 1% 1% ลูทีนและซีแซนทีน 157 ไมโครกรัม ไมโครกรัม วิตามินบี วิตามินบี 1 1 1 0 0 0 0 105 มิลลิกรัม มิลลิกรัม 9% วิตามินบี วิตามินบี วิตามินบี 2 2 0 0 0 0 0 055 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 5% วิตามินบี วิตามินบี วิตามินบี 3 3 0 0 0 0 92 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 6% วิตามินบี วิตามินบี 5 5 5 0 0 235 มิลลิกรัม มิลลิกรัม 5% วิตามินบี วิตามินบี 6 6 0 329 มิลลิกรัม 25% วิตามินบี วิตามินบี 9 9 24 ไมโครกรัม 6% วิตามินซี 14 7 7 มิลลิกรัม มิลลิกรัม 17% วิตามินอี 0 34 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 2% 2% ธาตุแคลเซียม 24 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 2% 2% 2% ธาตุเหล็ก 0 23 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 2% 2% ธาตุแมกนีเซียม 29 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 8% ธาตุแมงกานีส 0 0 043 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 2% ธาตุฟอสฟอรัส 21 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 3% ธาตุโพแทสเซียม 448 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 10% ธาตุโซเดียม 2 มิลลิกรัม มิลลิกรัม มิลลิกรัม 0% ธาตุสังกะสี 0 0 13 มิลลิกรัม มิลลิกรัม 1% 























































   11   12   13   14   15