Page 55 - Demo
P. 55

บทที่ 3 วิธีดําเนินกํารวิจัย
กํารศึกษําเรื่อง โครงกํารวิจัยกํารพัฒนําระบบคุ้มครองช่วยเหลือเด็กและเยําวชนชําติพันธุ์ บนพื้นที่สูงที่ตกเป็นเหยื่อกํารค้ํามนุษย์ ปีงบประมําณพ.ศ.2562เป็นกํารศึกษําข้อมูลเชิงคุณภําพ (Qualitative research) โดยมีรํายละเอียดกํารศึกษํา ดังนี้
1. วิธีกํารวิจัย
2. ประชํากรและกลุ่มตัวอย่ําง
3. เครื่องมือที่ใช้ในกํารวิจัย
4. วิธีกํารเก็บรวบรวมข้อมูล
5. กํารตรวจสอบคุณภําพของเครื่องมือ 6. กํารวิเครําะห์ขอ้ มูล
วิธีกํารวิจัย
ในกํารศึกษําวิจัยครั้งนี้ มีวิธีกํารวิจัยดังนี้
1.กํารวิจัยเอกสําร(Documentary research)เป็นกํารศึกษําค้นคว้ําและรวบรวมข้อมูล จํากตํารําบทควํามทํางวิชํากําร หนังสือ วิทยํานิพนธ์ รวมทั้งได้สืบค้นจํากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Internet) เป็นกํารรวบรวมข้อมูล จํากเอกสํารทํางวิชํากําร วํารสําร สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รํายงํานกํารวิจัย วิทยํานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ รํายงํานกํารประชุม คู่มือปฏิบัติงําน ระเบียบ ประกําศ คําสั่ง เอกสํารทําง รําชกําร
2. กํารวิจัยสนําม (Field research) โดยผู้วิจัยลงพื้นที่เพื่อสัมภําษณ์กลุ่มตัวอย่ําง ด้วยกําร สัมภําษณ์แบบมีโครงสร้ําง หรือกํารสัมภําษณ์แบบเป็นทํางกําร (Structured interview or formal interview) และกํารสนทนํากลุ่ม (Focus group discussion) ดําเนินกํารจัดเวทีสนทนํากลุ่มในพื้นที่ โดยวิธีกํารจดบันทึกข้อมูลตํามคําบอกของผู้ถูกสัมภําษณ์ ซึ่งเป็นแบบสอบถํามปลํายเปิด เป็นเครื่องมือ ในกํารรวบรวมข้อมูลจํากกลุ่มตัวอย่ําง เพื่อศึกษาระบบคุ้มครองช่วยเหลือผู้ตกเป็นเหยื่อทั่วไปและเด็ก และเยาวชนชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน วิเคราะห์ปัจจัย ส่งเสริม สนับสนุนให้กระบวนการคุ้มครองช่วยเหลือเด็กและเยาวชนชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่ตกเป็นเหยื่อ การค้ามนุษย์ที่มีประสิทธิภาพ และแนวทางในการพัฒนาระบบคุ้มครองช่วยเหลือเด็กและเยาวชน ชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงที่ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ที่เหมาะสม
ประชํากรและกลุ่มตัวอย่ําง
ในกํารศึกษําวิจัยครั้งนี้ มีประชํากรและกลุ่มตัวอย่ําง ดังนี้
1.ประชํากร(Population) ได้แก่หน่วยงานพม.ในพื้นที่หน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ผู้นา ท้องที่ ท้องถิ่น แกนนาในชุมชน สถานีตารวจภูธร ตรวจคนเข้าเมือง องค์กรภาคเอกชน
2. กลุ่มตัวอย่ําง (Sample) ที่ใช้ในกํารศึกษําวิจัยครั้งนี้ เป็นกํารสุ่มตัวอย่ํางแบบเจําะจง (Purposive sampling)เป็นกํารเลือกตัวอย่ํางโดยกํารกําหนดคุณลักษณะของประชํากรที่ต้องกํารศึกษํา จึงใช้วิธีกํารเก็บข้อมูลจํากผู้ให้ข้อมูลสําคัญ (Key informants) และมีกํารสัมภําษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 6 จังหวัดๆ ละ 5 คน โดยคํานึงถึงวัตถุประสงค์ของกํารศึกษํา ได้เลือกจํากบุคคลที่เป็นทีมสหวิชําชีพ
  39
 


















































































   53   54   55   56   57