Page 104 - Demo
P. 104
กรณีที่ 5: ฐานรากวงกลมที่รับแรงเยื้องศูนย์ดังแสดงในรูปที่ 2.24 นั้น แรงเยื่องศูนย์ที่เกิดขึ้นเป็นแบบ ทางเดียว โดยพื้นที่ประสิทธิผล (A′) และความกว้างประสิทธิผล (B′) สําหรับฐานรากวงกลมนั้นหาได้ จากตารางที่ 2.8 ส่วนความยาวประสิทธิผล (L′) หาได้จากสมการที่ 2.49
L′ = A′ (2.49) B′
รูปที่ 2.24 พื้นที่ประสิทธิผลกรณีที่ 5 (Das 2011) A′ B′ eR
ตารางท่ี 2.8 ตัวแปร 2 และ ต่อ ( )ของฐานรากวงกลมที่รับแรงเยื้องศูนย์ (Das
2011)
RRR eR A′
() 2 R R
B′ R
1.85 1.32 1.20 0.80 0.67 0.50 0.37 0.23 0.12
0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0
2.80 2.40 2.00 1.61 1.23 0.93 0.62 0.35 0.12
0 0
95