Page 123 - Demo
P. 123
n −1
F2 = tan A2
(3.8)
(3.9)
(3.10)
รูปท่ี 3.3 ลักษณะการทรุดตัวอีลาสติกของฐานรากยืดหยุ่นและฐานรากแข็งแกร่ง (Das 2011) ค่าตัวแปร F1 และ F2 ซึ่งคํานวณหาได้จากสมการท่ี 3.5 และ 3.6 ได้แสดงในตารางท่ี 3.2 และ 3.3
ตามลําดับ และ ปัจจัยค่าความลึก (If) สําหรับ μs = 0.3, 0.4 และ 0.5 แสดงในตารางที่ 3.4 ในกรณีที่ฐานรากแข็งแกร่ง (Rigid Foundation) การคะเนการทรุดตัวหาได้จากสมการที่ 3.11
2π m'
A2 = ( 2 2 )
n' m' +n' +1 ปัจจัยค่าความลึก (Depth Factor) (Fox, 1948)
If =
=Df L
f(B ,μs,และB)
Se(rigid) ≈ 0.93Se(flexible,center)
(3.11)
เนื่องจากดินในธรรมชาติไม่เป็นเนื้อเดียว (Nonhomogeneous) ขนาดของค่าโมดูลัสความยืดหยุ่น แปรผันกับระดับความลึก Bowles (1987) ได้เสนอสมการหาค่าเฉลี่ยโดยน้ําหนักของค่าโมดูลัสดังแสดง สมการที่ 3.12
114