Page 160 - Demo
P. 160

ฐานรากปูพรมอาจยังใช้ร่วมกับงานเสาเข็มเพื่อแก้ไขปัญหาการทรุดตัวของอาคารที่ก่อสร้างในชั้นดิน อ่อน หรือเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาเสาเข็มถูกยกลอยขึ้นเนื่องมาจากระดับน้ําใต้ดินสูงขึ้น รูปที่ 4.2 แสดง ถึงความแตกต่างของระดับฐานรากและความกว้างของฐานรากเดี่ยวและฐานรากปูพรม
(ก) ฐานรากเดี่ยว (ข) ฐานรากปูพรม
รูปที่ 4.2 ความแตกต่างของระดับฐานรากและความกว้างของฐานรากเดี่ยวและฐานรากปูพรม (Das 2011)
4.2 กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยฐานรากแพปูพรม(BearingCapacityofMat Foundation)
กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยฐานรากแพปูพรมสามารถหาได้จากสมการของฐานรากเดี่ยว ดังแสดงใน สมการท่ี 2.13)
q =cN F F F +qN F F F +0.5γBN F F F u c cs cd ci q qs qd qi γ γs γd γi
ในกรณีที่ฐานรากต้ังอยู่บนดินเหนียวที่อิ่มตัวด้วยน้ําและน้ําหนักกระทําในแนวดิ่งนั้น ค่ามุมเสียดทาน
(φ) มีค่าเท่ากับ 0 ดังนั้นค่าตัวแปรต่างๆ จะมีค่าต่อไปนี้
- Nc=5.14
- Nq=1
- Nγ=0
- ค่าปัจจัยแรงเอียง (Inclination Factor): Fci = Fqi = Fγi = 1 (β =0)
- ค่าปัจจัยรูปร่างฐานราก (Shape Factor):
    B Nq  B  1  F =1+() =1+()
cs  L Nc  L 5.14
  151
 


















































































   158   159   160   161   162