Page 196 - Demo
P. 196

เมื่อ
5.3.2 ดินเหนียว
Meyerhof (1976) ได้เสนอสมการความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงบากทาน qp และค่า qc ดังแสดง ในสมการท่ี 5.19
qp ≈qc (5.19) qc = ค่ากําลังต้านทานที่หัวกรวย
สมการท่ีใช้ในการคาดคะเนหน่วยแรงบากทานของดินเหนียวที่ปลายเสาเข็มได้ถูกนําเสนอโดย Meyerhof (1976) และ Vesic (1977) โดยมีรายละเอียดดังนี้
ก. Meyerhof(1976)
ได้เสนอสมการในการคาดคะเนหน่วยแรงบากทานของดินเหนียวที่ปลายเสาเข็ม ในกรณีท่ีปลาย
เสาเข็มอยู่ในชั้นดินเหนียวที่อ่ิมตัวด้วยนํ้า ซึ่งค่ามุมเสียดทาน (φ) มีค่าเท่ากับ 0 ดังนั้นจากสมการ ที่ 5.3
จะได้ว่า
Q =A .q =A (cN* +q'N* ) ppppcq
Q =AcN* p puc
cu =
Q =A .q =A (cN* +q'N* ) ppppcq
จะได้ว่า
เมื่อ
ข. Vesic(1977)
ในกรณีท่ีปลายเสาเข็มอยู่ในช้ันดินเหนียวท่ีอ่ิมตัวด้วยน้ํา ซึ่งค่ามุมเสียดทาน (φ) มีค่าเท่ากับ 0 ดังนั้นจากสมการท่ี 5.3
Qp =9cuAp กําลังต้านทานแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ํา (Undarined Shear
Strength)
(5.20)
(5.21)
 187
 












































































   194   195   196   197   198