Page 255 - Demo
P. 255
(ค) นํ้าหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่ม
จาก (ก) และ(ข) จะได้ว่า นํ้าหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มที่มีพฤติกรรมแบบเสาเข็มขนาดใหญ่มี ค่ากว่านํ้าหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มท่ีมีพฤติกรรมแบบเสาเข็มเดี่ยว ดังน้ันหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มมีค่าเท่ากับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มที่มี พฤติกรรมแบบเสาเข็มเดี่ยว
Qg(u) =8,090kPa (ค) น้ําหนักบรรทุกที่ยอมให้ของเสาเข็มกลุ่ม
จาก
ดังนั้น
Qg(all) =
Qg(all) = 8,090 kPa
3
Qg(all) = 2,696.67 kPa ตอบ
5.10 การคาดคะเนการทรุดตัวของเสาเข็มกลุ่ม (Settlement of Group Piles)
การทรุดของดินใต้เสาเข็มที่เกิดจากการรถ่ายน้ําหนักจากเสาเข็มมาสู่ดินน้ัน เป็นตัวบ่งช้ีตัวหนึ่งท่ีแสดง ถึงความปลอดภัยในการรับน้ําหนักของฐานราก นอกเหนือจากกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของดิน ถ้าดินใต้ ฐานรากเกิดการทรุดตัวมากเกินกว่าตามท่ีมาตรฐานกําหนดไว้ จะถือว่าฐานรากนั้นไม่ปลอดภัยต่อ การรับน้ําหนัก โดยการทรุดตัวของดินใต้นั้นแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ได้แก่ การทรุดตัวทันทีทันใด หรือการทรุดตัวอีลาสติก (Immediately Settlement or Elastic Settlement) และการทรุดตัวแบบ อัดตัวคายน้ําซ่ึงเป็นฟังค์ชันกับเวลา (Consolidation Settlement) การทรุดตัวทันทีทันใดหรือ การทรุดตัวอีลาสติกของฐานรากจะเกิดระหว่างหรือเกิดข้ึนภายหลังการก่อสร้าง เช่นเดียวกันกับ การทรุดตัวของฐานรากตื้น
5.10.1 การทรุดตัวแบบอีลาสติก (Elastic Settlement of Group Piles)
โดยทั่วไปการทรุดตัวของเสาเข็มกลุ่มภายใต้นํ้าหนักท่ีกระทําจะเพ่ิมข้ึนตามความกว้างของเสาเข็ม กลุ่ม (Bg) และระยะห่างระหว่างเสาเข็ม (d) โดยการประมาณค่าการทรุดตัวของเสาเข็มกลุ่มสามารถ หาได้จากสมการของ Vesic (1969) ดังแสดงในสมการท่ี 5.81
Qg(u) FS
246