Page 269 - Demo
P. 269
โดย รูป 6.1ก แสดงถึงกําแพงกันดินที่ไม่เกิดการเคลื่อนท่ี แรงดันดินด้านข้างที่กระทํากับกําแพงนี้เรียกว่า 6.2 แรงดันดินด้านข้างในสภาพหยุดน่ิง(At Rest Earth Pressure)รูป6.1ขแสดงถึงกําแพงกันดินที่เกิดการ เคลื่อนท่ีมาด้านหน้า เนื่องจากแรงดันดินด้านหลังของกําแพง โดยดินท่ีอยู่ด้านหลังกําแพงอยู่ในสภาพวิบัติ แรงดันดินด้านข้างนี้เรียกว่าแรงดันดินด้านข้างเชิงรุก (Active Earth Pressure) และ รูป 6.1ค แสดงกําแพง กันดินท่ีเกิดการเคล่ือนที่ไปดันดินด้านหลังกําแพง เน่ืองจากมีแรงภายนอกมากระทํา ทําให้ดินท่ีอยู่ด้านหลัง กําแพงเกืดการวิบัติ โดยแรงดันดินด้านข้างน้ีเรียกว่า แรงดันดินด้านข้างเชิงรับ (Passive Earth Pressure)
6.2 แรงดันดินด้านข้างในสภาพหยุดน่ิง(LateralEarthPressureatRest)
พิจารณากําแพงกันดินสูง H ดังแสดงในรูปท่ี 6.2 โดยดินหลังกําแพงมีหน่วยนํ้าหนักเท่ากับ γ และมี หน่วยแรงขนาด q กระทําบนผิวดิน ความเค้นประสิทธิผลในแนวด่ิงท่ีระดับความลึก z ใดๆ หาได้จาก สมการท่ี 6.1
σ′ =(q+γz)−u ow
เม่ือ
uw = แรงดันนํ้าในโพรง
แรงดันดินด้านข้างในสภาพหยุดนิ่ง สามารถหาได้จากสมการท่ี 6.2 σ′ =K .σ′
เมื่อ สําหรับดินอัดตัวแน่นปกติ
Ko ≈1 - sinφ′ สําหรับดินอัดตัวแน่นมากกว่าปกติ
Ko = (1-sinφ′)OCRsinφ′ OCR= อัตราส่วนการอัดตัวมากกว่าปกติ
(6.1)
(6.2)
(6.3)
(6.4)
เมื่อ
hoo
260