Page 277 - Demo
P. 277
จากแผนผังแรงดันกับความลึกนําไปคํานวณหาแรงลัพธ์และตําแหน่งที่แรงลัพธ์กระทําได้ดังนี้
พื้นที่ ท่ี 1 2 3
Σ
จะได้
พื้นที่แรง (kN/m)
0.5x(15.84)x3 = 23.76 12.48X3 = 37.44
0.5x(49.08 – 12.48)x3 = 54.9
แขนของพื้นที่แรงรอบ จุด O (m)
3x1/3+3 = 4 3/2 = 1.5 3x1/3 = 1.0
kN / m ตอบ
m
m ตอบ
โมเมนท์พื้นที่รอบจุด O (kN.m/m)
166.32 56.16 54.9
116.1
277.38
และตําแหน่งของแรงลัพธ์
จะได้ว่า ดังนั้น
Pa = 116.1 z = ∑Mo
P a
z = 277.38 116.1
z = 2.39
6.3.2 กรณีทั่วไปสําหรับแรงดันดินด้านข้างเชิงรุกของทฤษฎีRankine
ในหัวข้อ6.3.1 แสดงถึงแรงดันดินด้านข้างเชิงรุกของRankineในกรณีที่ดินด้านหลังกําแพงอยู่ใน แนวระดับและด้านหลังกําแพงอยู่ในแนวตั้งดิ่ง ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงแรงดันดินด้านข้างเชิงรุกของ Rankine ที่กระทํากับกําแพงที่มีด้านหลังแบบเอียงและดินถมหลังกําแพงไม่อยู่ในแนวระนาบ ดังแสดงในรูปที่ 6.6
268