Page 325 - Demo
P. 325
เน่ืองจากกําแพงกันดินรับทั้งโมเมนต์ แรงในแนวด่ิงและแนวนอน ดังน้ันการกระจายความเค้นลงสู่ดิน qmax จะเกิดท่ี Toe และ qmin เกิดท่ี Heel ซ่ึงจะหาได้จากสมการที่ 7.5 และ 7.76 ตามลําดับ โดยระยะเยื้อง ศูนย์คํานวณหาจากสมการที่ 7.7
เมื่อ
2
qmax = qmin =
X =
∑V{ 6e} 1+
(7.5) (7.6)
(7.7)
(7.8)
B B ∑V{ 6e}
1− B B
B e= −X
∑MR −∑MD ∑V
อัตราส่วนความปลอดภัย (Factor of Safety, FS) ของกําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยของกําแพงกันดิน (Bearing Capacity) ที่หาได้จากสมการท่ี 7.9 ต้องมากกว่า 3 และการทรุดตัวของกําแพงกันดินไม่ควร 10%ของความกว้างของกําแพงกันดิน
FS= qu (7.9) qmax
โดย qu หาได้จากสมการกําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของ Meyerhof (1953) แต่เนื่องจากกําแพงกัน ดินเป็นฐานรากแบบต่อเนื่อง (B<<<<L) อัตราส่วน B ≈ 0 ดังนั้นค่าปัจจัยของรูปร่างฐานราก (Shape
L
Factor) มีค่าเท่ากับ 1 ดังน้ันกําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยของกําแพงกันดินแสดงในสมการที่ 7.10
q′ =c'N F F +qN F F +0.5γ B′N F F (7.10) u c cd ci q qd qi 2 γ γd γi
316