Page 40 - Demo
P. 40
ค่า cu(VST) ท่ีจะถูกปรับแก้เป็นกําลังต้านทานแรงเฉือนแบบไม่ระบายนํ้าที่แท้จริง (cu) ดังแสดงใน สมการท่ี 1.19 เพื่อนํามาใช้ในการออกแบบ เน่ืองจากค่า cu(VST) น้ีมีค่าสูงกว่า cu จริง โดยมีการ
นําเสนอค่าปรับแก้ (λ) ในหลากหลายรูปแบบ ดังแสดงในสมการที่ 1.20 ถึงสมการท่ี 1.22 cu = λcu(VST)
เมื่อ λ คือค่าปรับแก้
Bjerrum (1972) ได้เสนอสมการในการหาค่าปรับแก้ λ ดังแสดงในสมการที่ 1.20
λ = 1.7 – 0.54log[PI(%)]
Morris และ Williams (1994) ได้เสนอสมการในการหาค่าปรับแก้ λ ดังแสดงในสมการท่ี 1.21
และ 1.22
(1.20)
(1.21)
(1.22) (cu(VST)) ยังได้ถูก
λ = 1.18e-0.08(PI) + 0.57 (สําหรับ PI >5) λ = 1.18e-0.08(LL) + 0.57 (LL มีหน่วยเป็น %)
นอกจากนี้แล้วยังมีค่ากําลังต้านทานแบบไม่ระบายจากการทดสอบใบเฉือน
นําไปหาค่าความเค้นในอดีต (Preconsolidation Pressure, σ′c) และค่าอัตราส่วนการอัดตัว มากกว่าปกติ (Overconsolidation Ratio, OCR) สําหรับดินเหนียวโดย Mayne และ Mitchell (1988) ดังแสดงในสมการ 1.23 และ 1.24
σ′c =7.04[cu(VST)]0.83
OCR=βcu(VST) (1.24)
ค่า β ในสมการท่ี 1.24 ได้มีผู้นําเสนอในหลายรูปแบบดังแสดงในสมการที่ 1.25 ถึง 1.27
σ′
o
(1.19)
(1.23)
31