Page 427 - Demo
P. 427

จากความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและการทรุดตัวแบบอัดตัวคายน้ําที่เกิดขึ้น ดังแสดงดังรูปที่ 10.1 ซึ่งจะ เห็นได้ว่าการทรุดตัวแบบอัดตัวคายน้ําสิ้นสุดที่เวลา t1 ที่ค่าการทรุดตัวแบบอัดตัวคายน้ําเนื่องจาก น้ําหนักสิ่งก่อสร้างมากระทํา (Sc(p)) จะเกิดขึ้นที่เวลา t2 เมื่อมีน้ําหนักสิ่งก่อสร้างรวมกับน้ําหนักส่วนเกิน
[∆σ′(p) +∆σ′(f)] มากระทํา นํ้าหนักส่วนเกิน [∆σ′(f)] กระทําจะถูกนําออก คงเหลือแต่นํ้าหนัก ของสิ่งก่อสร้างกระทําบนดินเหนียวอ่อน
        รูปที่ 10.1 หลักการของ Precompression
การคํานวณหาน้ําหนักส่วนเกิน [∆σ′(f)] มากระทําเพ่ือเร่งอัตราการทรุดตัวนั้น สามารถหาระดับการ อัดตัวคายน้ําที่กึ่งกลางชั้น (Degree of Consolidation at Midplane, U) ซึ่งระดับการอัดตัวคายน้ํา
σ′
o
(p) หาได้จากสมการท่ี 10.3 และ 10.4 จากสมการ 10.4 จะได้ ควาสัมพันธ์ระหว่าง U, σ′ และ
σ′
σ′
(f) ดังแสดงในรูปท่ี 10.2 ซ่ึงระดับการอัดตัวคายน้ําที่กึ่งกลางชั้น (U) นั้นเป็นฟังค์ชันกับแฟคเตอร์
o
เวลา (TV) ดังแสดงในรูป 10.3 และแฟคเตอร์เวลา (TV) หาได้จากสมการที่ 10.5
  418
 





















































































   425   426   427   428   429