Page 43 - Demo
P. 43
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Dr) กับค่า qc ของทราย:
Lancellotta (1983) และ Jamiolkowski et al. (1985) ได้เสนอความสัมพันธ์ระหว่างความ หนาแน่นสัมพัทธ์ของดินทรายอัดตัวปกติ (Normally Consolidated Sand) และค่า qc แสดงใน สมการที่ 1.28
(1.28)
D (%)=A+Blog qc r 10 σ′
o
ต่อมา Kulhawy และ Mayne (1990) ได้จัดรูปแบบสมการใหม่ ดังแสดงในสมการที่ 1.29
qc Dr(%)=68log p.σ′−1
(1.28) Baldi et al. (1982) และRobertsonและCampanella (1983) ได้เสนอกราฟแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าค่าความเค้นประสิทธิผลในแนวด่ิง (σ′o) ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Dr) และ qc ดังแสดงในรูปที่ 1.26
ความสัมพันธ์ระหว่างค่ามุมเสียดทานประสิทธิผล (φ′) กับค่า qc ของทราย: จากผลการศึกษาของ Robertson และ Campanella (1983) ได้เสนอตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อค่า qc ของทรายควอทซ์ที่อัดตัวปกติ (Normally Consolidated Quartz Sand) ได้แก่ ค่าความ
เค้นประสิทธิผลในแนวด่ิง (σ′o) ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (Dr) และมุมเสียดทานประสิทธิผล (φ′) ต่อมา Kulhawy และ Mayne (1990) ได้จัดรูปแบบความสัมพันธ์ดังกล่าวในรูปแบบสมการ ดังแสดงในสมการที่ 1.29
ao
φ′=tan−1 0.1+0.38log qc (1.29) σ′
o จากผลการทดสอบท่ีเมืองเวนิชประเทศอิตาลีRicceri et al. (2002)ได้เสนอความสัมพันธ์
ระหว่างค่ามุมเสียดทานประสิทธิผล (φ′) กับค่า qc ของดิน ML และ SP-SM ดังแสดงในสมการ ที่ 1.30
34