Page 431 - Demo
P. 431

ค จากสมการท่ี 10.5 Tv = t2Cv จะได้ H2
Tv = (12)(0.52) 82
 (2)
Tv = 0.39
จากรูปท่ี 10.3 จะได้ U ≈ 53%
σ′ จากรูปที่ 10.2 จะได้ (f) ≈1.6
ดังน้ัน
σ′ =1.6×110 kPa (f)
σ′ = 176 kPa ตอบ (f)
10.3 เข็มทรายระบายน้ําในดินเหนียว (Sand Drain)
การใช้เข็มทรายระบายนํ้าเป็นอีกวิธีหน่ึงในการเร่งการทรุดตัวของช้ันดินเหนียวอ่อนที่อยู่ในสภาวะอัดตัว แน่นปกติ เพ่ือให้เกิดการทรุดตัวตามท่ีคาดคะเนไว้ก่อนการก่อสร้างฐานราก การก่อสร้างเข็มทราย ระบายน้ํากระทําโดยการเจาะรูผ่านช้ันดินเหนียว แล้วใส่ทรายลงในหลุมเจาะ ขั้นตอนการก่อสร้างเข็ม ทรายระบายนํ้าสามารถทําได้หลายวิธีเช่น (ก) การเจาะแบบโรตารี่แล้วทําการเติมกลับด้วยทราย (ข) การเจาะโดยสว่านต่อเน่ืองท่ีมีก้านเจาะกลวงแล้วใส่ทรายลงในหลุมโดยผ่านก้านเจาะกลวง และ (ค) การกดเสาเข็มเหล็กกลวงลงในช้ันดินเหนียวทรายที่อยู่ในเสาเข็มจะถูกฉีดพ่นออกมาหลุมเจาะ รูปที่ 10.4 แสดงแผนผังของเข็มทรายระบายน้ํา หลังจากใส่ทรายลงในหลุมเจาะแล้ว จะให้นํ้าหนักบรรทุก กระทําบนผิวดิน ซึ่งจะเป็นการเพิ่มแรงดันน้ําในช่องว่างของดินเหนียว แรงดันนํ้าส่วนเกินในช่องว่าง ของดินเหนียวดินจะถูกระบายออกท้ังในแนวต้ังและแนวรัศมีไปสู่เข็มทรายระบายน้ําซึ่งจะช่วยเร่งการ ทรุดตัวของชั้นดินเหนียว ในรูปท่ี 10.4ก โดยรัศมีของเข็มทรายระบายน้ําเท่ากับ rw รูปท่ี 10.4ข แสดง แผนของรูปแบบของเข็มทรายระบายนํ้า โซนที่มีประสิทธิภาพซ่ึงเป็นการระบายนํ้าในแนวรัศมีจะถูก นําไปยังเข็มทรายระบายน้ํา ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ de ขนาดของนํ้าหนักบรรทุกและระยะเวลา ที่นํ้าหนักบรรทุกกระทําบนผิวดินคํานวณหาจากสมการท่ี 10.6
σ′
o
 422





















































































   429   430   431   432   433