Page 65 - Demo
P. 65
ค่าปัจจัยปรับปรุงสําหรับกําลังรับน้ําหนักบรรทุกท่ีเกิดการวิบัติด้วยแรงเฉือนเฉพาะท่ี (Local Shear Failure) สามารถคํานวณหาได้จากสมการท่ีใช้ในการคํานวณค่า Nc Nq และ Nγ โดยการแทนที่มุม เสียดทาน (φ) ด้วยมุม φ ซึ่งมีค่าเท่ากับ tan-1 (2⁄3.tanφ) ดังแสดงในตารางท่ี 2.3
2.3.2 สมการกําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยของฐานราก สําหรับการวิบัติด้วยแรงเฉือนท่ัวไป (Bearing Capacity Equation-General Shear Case)
สมการของ Terzaghi (1943) ในการคํานวณหากําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยของฐานราก ใช้สําหรับ ฐานรากต่อเน่ือง ฐานรากสี่เหล่ียมจตุรัส และฐานรากวงกลมเท่าน้ัน มิได้พิจารณาถึงฐานราก ส่ีเหล่ียมผืนผ้า นอกจากน้ันแรงที่กระทํากับฐานราก Terzaghi (1943) พิจารณาเพียงแค่แรงกระทํา ในแนวด่ิงเท่าน้ัน มิได้พิจารณาแรงในแนวเอียง ดังน้ัน Meyerhof (1953) จึงได้เสนอแนะสมการกําลัง รับนํ้าหนักบรรทุกประลัยของฐานราก สําหรับการวิบัติด้วยแรงเฉือนทั่วไป ดังแสดงในสมการท่ี 2.13
q =cN F F F +qN F F F +0.5γBN F F F u c cs cd ci q qs qd qi γ γs γd γi
(2.13)
เม่ือ
B =
Fcs, Fqs, Fγs = Fcd, Fqd, Fγd = Fci, Fqi, Fγi = Nc, Nq, Nγ =
ความกว้างของฐานราก
ค่าปัจจัยรูปร่างฐานราก (Shape Factor) ค่าปัจจัยระดับความลึกของฐานราก (Depth Factor) ค่าปัจจัยแรงเอียง (Inclination Factor) ค่าปัจจัยกําลังรับนํ้าหนักบรรทุก
c = q =
γ
ค่าแรงยึดเหน่ียวระหว่างเม็ดดิน (Cohesion)
ความเค้นประสิทธิผลที่ระดับความลึกของวางฐาน = หน่วยน้ําหนักของดิน
56