Page 78 - Demo
P. 78
2 2 B+0.577 F =1+2tan30(1−sin30)2 ( )=1+2tan30(1−sin30)2 ( )=
qd
F =1
BBB ค่าปัจจัยแรงเอียง (Inclination Factor): β = 0o
γd
β2 02 F=1− =1− =1
qi 90 90 β2 02
F = 1− = 1− =1 γi φ φ
ดังน้ัน
แทนค่า qu จาก (1) ลงใน (2) จะได้
13, 320 = 957.55 + 552.51 + 110.88B B2 B
qu =(16.5×2)(18.4)(1.577) B ()
B + 0.577
qu =957.55+552.51+110.88B B
(1)+0.5(16.5)(B)(22.40)(0.6)(1)(1) kPa kPa......(2)
110.88B3 +957.55B2 +552.51B−13,320=0 B = 3.0 เมตร ตอบ
2.3.5 ผลของดินยุบตัว (Effect of Soil Compressibility)
ในกรณีกําลังรับนํ้าหนักบรรทุกประลัยของฐานรากสําหรับดินยุบตัวนั้น สมการของ Meyerhof ได้ถูก แก้ไขโดยการเปล่ียนค่าปัจจัยแรงเอียงเป็นค่าปัจจัยการยุบตัว ดังแสดงในสมการที่ 2.20
q =cNFFF +qNFFF +0.5γBNFFF (2.20) u c cs cd cc q qs qd qc γ γs γd γc
ค่าปัจจัยการยุบตัวน้ี Vesic (1973) เป็นผู้นําเสนอ โดยการเปรียบเทียบกับการขยายตัวของช่องว่าง ระหว่างเม็ดดิน ซึ่งมีขั้นตอนในการหาค่าปัจจัยการยุบตัว (Fcc, Fqc และ Fγc) มีดังต่อไปน้ี
69