Page 120 - อนุสาร อสท. ฉบับเดือนเมษายน ๒๕๖๓
P. 120

จากการสารวจในเบ้ืองต้นพบร่องรอยของ แหล่งถลุงเหล็กและเหมืองแร่เหล็กโบราณขนาด ใหญก่ ระจายอยใู่ นแอง่ ทรี่ าบบา้ นโฮง่ -ลี้ ประมาณ ๔๐ แห่ง และได้ข้อมูลว่าอาจมีเพ่ิมเติมอีกไม่ ต่ากว่า ๕๐ แหล่ง นับได้ว่าเป็นแหล่งโลหกรรม เหลก็ โบราณใหญท่ สี่ ดุ ของประเทศไทยและถอื เปน็ กุญแจสาคัญในการไขปริศนาเรื่องราวของผู้คน ภาคเหนือในยุคก่อนหริภุญไชยต่อไป
วันที่สองคณะทัศนศึกษาซ่ึงพักอยู่ในอาเภอ แม่แจ่มต้ังแต่เม่ือวานตอนค่า ออกเดินทางไปแวะ แหลง่ นา้ ศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ ว่ี ดั พระพทุ ธเอน้ ทม่ี นี า้ ผดุ ออก จากใตพ้ นื้ ดนิ ไหลออกมาไมข่ าดสาย และอโุ บสถไม้ กลางน้าฝีมือช่างพื้นบ้านงดงามแปลกตา ก่อนจะ ไปชมผลงานการอนุรักษ์ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ฝีมือช่างพื้นถิ่นภายในวิหารวัดป่าแดด อายุกว่า
ร้อยปี ซึ่งนางสาวกรอุมา นุตะศรินทร์ นักวิชาการ ช่างศิลป์ชานาญการพิเศษ จากกองโบราณคดี เล่าให้ฟังถึงจุดเริ่มต้นว่ามาจากโครงการคัดลอก จติ รกรรมฝาผนงั ในพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ สิริภาจุฑาภรณ์ ในปี ๒๕๕๙ ซึ่งพระองค์เสด็จ มาทอดพระเนตรเห็นความทรุดโทรมของวิหาร วัดป่าแดด จึงมีพระดาริให้กรมศิลปากรเข้ามา บูรณะอาคารวิหารเป็นการเร่งด่วน
จากนนั้ กลมุ่ อนรุ กั ษจ์ ติ รกรรมและประตมิ ากรรม กองโบราณคดไี ดเ้ ขา้ มาดา เนนิ การอนรุ กั ษจ์ ติ รกรรม ฝาผนังซ่ึงเขียนขึ้นโดยช่างชาวไทยใหญ่ในแบบ ศิลปกรรมพื้นถ่ินด้วยสีฝุ่นบนพื้นปูนและพื้นไม้ เปน็ เรอื่ งราวพทุ ธประวตั แิ ละมโหสถชาดกวธิ รู ชาดก จนั ทคาธชาดก และเวสสนั ดรชาดก รวมทง้ั บรู ณะ ประติมากรรมปูนปั้นประดับราวบันไดหน้าวิหาร
ซึ่งมีลักษณะเด่นเฉพาะตัวไม่เหมือนท่ีไหน ตรงท่ี ช่างทาเป็นรูปมกรคายมกรงับบ้ันท้ายสิงห์เชิง บนั ได แตกตา่ งจากวหิ ารลา้ นนาแหง่ อนื่ ๆ ซง่ึ จะทา เป็นมกรคายนาค
เดินทางต่อไปยังวัดยางหลวงเพื่อชมภายใน อุโบสถ ศิลปกรรมน่าสนใจของวัดต้ังอยู่ด้านหลัง พระประธาน เรียกว่า “กิจกูฏ” (อาจหมายถึง เขาคิชฌกูฏ หนึ่งในห้าของภูเขาท่ีล้อมรอบกรุง ราชคฤห์ นครท่ีพระพุทธเจ้าประทับ) ลักษณะ คล้ายกับโขงพระเจ้า หรือกู่พระเจ้า มีซุ้มจระนา สองข้าง กึ่งกลางประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ซุ้มทางเหนือประดิษฐานพระพุทธรูปปางเปิดโลก สว่ นซมุ้ ทางใตป้ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางประทาน อภัย มีรูปแบบการตกแต่งพิเศษท่ีแตกต่างจาก ศลิ ปกรรมลา้ นนาทวั่ ไปหลายแหง่ เชน่ สงิ หป์ ระดบั ซุ้มเป็นประติมากรรมรูปสิงห์ยืนแบบอินเดีย ลวดลายปูนปั้นตกแต่งที่ผสมผสานทั้งศิลปะพม่า แบบพุกาม ศิลปะล้านนา และศิลปะพื้นถิ่น เข้า ด้วยกันอย่างลงตัว
ขบวนรถตู้แล่นออกจากอาเภอแม่แจ่มผ่าน เสน้ ทางคดโคง้ ของขนุ เขาลงมาถงึ อา เภอจอมทอง จงั หวดั เชยี งใหม่ ในชว่ งดวงตะวนั กา ลงั ทอแสงทอง ของยามเยน็ ทบี่ า้ นสบแจม่ ฝง่ั ขวา ตา บลบา้ นแปะ คณะทัศนศึกษาแวะลงเย่ียมชมกลุ่มโบราณสถาน สบแจ่ม ซึ่งปรากฏสถาปัตยกรรมอิทธิพลศิลปะ สุโขทัยจานวนมากอยู่รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ที่สุด ในดินแดนล้านนา
นายสายกลางจนิ ดาสุนกั โบราณคดชี า นาญการ นาชมบริเวณวัดพระเจ้าดา ที่มีขนาดใหญ่และ มคี วามชดั เจนของอทิ ธพิ ลสโุ ขทยั ดว้ ยเจดยี ป์ ระธาน ของวดั ทรงพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ และแนวกา แพงวดั กอ่ อฐิ เป็นเสากลมเลียนแบบเสาศิลาแลงท่ีถือเป็น เอกลักษณ์โดดเด่นของงานศิลปกรรมในกลุ่มรัฐ สโุ ขทยั กอ่ นจะนา คณะเดนิ ไปชมเจดยี ว์ ดั ชา้ งรอบ โบราณสถานสถาปตั ยกรรมสโุ ขทยั อกี แหง่ ทอี่ ยลู่ กึ เข้าไปในสวน สันนิษฐานได้ว่ากลุ่มโบราณสถาน สบแจ่มนี้มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒1 สอดคล้องกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ที่พญา กือนาทรงนิมนต์พระสุมนเถระจากเมืองสุโขทัย มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 1๙1๒ จึงถือเป็นหลักฐานสาคัญอันแสดง ให้เห็นถึงสายสัมพันธ์ทางศาสนาระหว่างล้านนา กับสุโขทัยที่สมบูรณ์มากที่สุด
จุดหมายแรกของคณะในวันสุดท้าย ก็คือ วัดผาลาด สกทาคามี วัดโบราณตั้งอยู่บนเส้นทาง เดินเท้าจากเมืองเชียงใหม่ขึ้นไปยังวัดพระบรม ธาตุดอยสุเทพ ซึ่งพุทธศาสนิกชนชาวล้านนาใช้ กันมาต่อเนื่องตั้งแต่รัชสมัยพญากือนา ด้วยทาเล ทมี่ นี า้ ตกไหลผา่ นตลอดทงั้ ปี จงึ มกี ารขดุ บอ่ นา้ ซบั เพื่อการบริโภค สร้างวิหารและเจดีย์ขึ้นเพื่อเป็น ที่สักการบูชา รวมไปถึงศาลาพักค้างแรม
  118 11๘
อนุสาร อ.ส.ท.   เมษายน ๒๕๖๓
 























































































   118   119   120   121   122