Page 103 - อนุสาร อสท. ฉบับที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓
P. 103
บา้ นสตั ยอ์ ดุ ม บา้ นไมห้ ลงั เกา่ ทเ่ี จา้ ของเออื้ เฟอ้ื พน้ื ที่ ใหท้ า พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มอื งระยอง
และเจ้าของบ้านสะพานไม้ผู้ชื่นชอบการสะสมข้าวของ สว่ นชนั้ บนเปน็ แกลเลอรเี ลก็ ๆ จดั แสดงผลงานภาพวาดของ กลุ่มศิลป์ระยอง และ “ลุงตุ๋ย” ซึ่งเป็นคนที่เกิดในชุมชนนี้ คุณลุงชอบวาดภาพ โดยเริ่มต้นหัดวาดภาพเมื่อย่างเข้าสู่วัย ๖๐ ปี แล้วพัฒนาฝีมือมาเรื่อย ๆ จนได้ภาพวาดที่งดงาม
ถัดเข้าไปในซอยคือสะพานไม้แห่งแรกของเมืองระยอง ที่ผู้คนในแถบนี้ใช้ข้ามแม่น้า ภายหลังเทศบาลเมืองระยอง ได้สร้างเป็นสะพานคอนกรีตแทน จนบัดนี้ไม่เหลือร่องรอย ของสะพานไม้เดิม
ศาลเจา้ แมท่ บั ทมิ ตยุ้ บว้ ยเตง๋ เหนยี่ งและเจา้ แมเ่ ทยี นโฮว้ เซยี บอ้ ศาลเจา้ แหง่ นเ้ี ปน็ ศนู ยร์ วมทางจติ ใจของชาวจนี ไหหลา มายาวนานถึง 1๔๐ กว่าปี สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๔๒1 เป็นที่ ประดษิ ฐานองคเ์ จา้ แมท่ บั ทมิ ซงึ่ เปน็ ทเี่ คารพสกั การะของคน ในชมุ ชนดา้ นหนา้ ของศาลเจา้ หนั หนา้ สแู่ มน่ า้ ระยองขา้ งๆศาล ยงั มภี าพสตรตี อารต์ เก๋ ๆ ฝมี อื กลมุ่ ศลิ ปร์ ะยอง วาดภาพจา ลอง บรรยากาศของวิถีชีวิตและการค้าขายบนถนนยมจินดา นักท่องเที่ยวที่มาเดินชมสามารถถ่ายภาพเป็นที่ระลึก
บา้ นสตั ยอ์ ดุ ม หรอื พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มอื งระยอง บา้ นไมส้ องชนั้ ริมถนนยมจินดาที่ยังคงกลิ่นอายแบบดั้งเดิมด้วยช่องลม ไม้ระแนงที่ฉลุเป็นตัวอักษรคาว่าเจริญ มีความงดงาม ไมเ่ หมอื นใคร บา้ นสตั ยอ์ ดุ มเดมิ เปน็ บา้ นของขนุ ศรอี ทุ ยั เขตร์ (โปง๊ สตั ยอ์ ดุ ม) ขนุ นางแหง่ เมอื งระยองทเี่ ปน็ ทงั้ เจา้ ของอตู่ อ่ เรอื โรงสีและโรงภาพยนตรแ์ หง่ แรกบนถนนยมจนิ ดาตอ่ มาภายหลงั คุณสมพรและครูกานดา สัตย์อุดม เจ้าของบ้านได้เอื้อเฟื้อ ให้ใช้บ้านหลังนี้เป็นพิพิธภัณฑ์ระยอง โดยมีกลุ่มอนุรักษ์ และฟื้นฟูเมืองเก่าระยองดูแล ภายในพิพิธภัณฑ์ฯ รวบรวม ภาพถา่ ยในอดตี ของเมอื งระยอง และขา้ วของเครอื่ งใชต้ า่ ง ๆ ที่ได้รับบริจาค อย่างถ้วย ชาม ตะเกียง กระติกน้าแข็ง ครก กระเดื่อง เครื่องไม้เครื่องมือท่ีใช้ต่อเรือ ตู้ขายทอง นาฬิกา เตยี ง ตู้ โตะ๊ โทรทศั น์ วทิ ยุ หนงั สอื สมดุ จดบญั ชี และอนสุ าร อ.ส.ท. ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ที่ยังคงสภาพดี
101 1๐1 อนุสาร อ.ส.ท. เมษายน ๒๕๖๓
ศาลเจา้ แมท่ บั ทมิ
ศาลเจา้ ซงึ่ เปน็ ทเี่ คารพสกั การะ ของคนในชมุ ชน