Page 122 - อนุสาร อสท. ฉบับที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓
P. 122

 รายงานพิเศษ
ณัฏวิภา จิโน รายงาน
ตามรอยเสน้ ทางศรทั ธากับ “ไทยเบฟ”
                  บรษิ ทั ไทยเบฟเวอเรจ จํา กดั (มหําชน) รว่ มกบั กรมกํารพฒั นําชมุ ชน กระทรวงมหําดไทย และมลู นธิ สิ ริ วิ ฒั นภกั ดี นํา คณะสอ่ื มวลชน และกํารทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย (ททท.) บนิ ลดั ฟา้ เปดิ เสน้ ทํางแหง่ ศรทั ธําภํายใตช้ อื่ “โครงกํารทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชนตํามรอยองคห์ ลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต” เมอ่ืวนัท่ี๒๙กมุภําพนัธ์ถงึวนัที่๑มนีําคมทผี่ํา่นมําเพอ่ืเชญิ ชวนประชําสมัพนัธใ์หป้ระชําชนได้ เดินทํางเข้ําไปเรียนรู้ประวัติและวัตรปฏิบัติอันงดงําม รวมท้ังปฏิปทําคําสอนขององค์หลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษําและนําไปปฏิบัติ อีกทั้งยังเป็นกํารช่วยส่งเสริมและ สร้ํางโอกําสทํางเศรษฐกิจในดํา้ นกํารท่องเที่ยวที่เป็นกํารกระจํายรํายได้เข้ําสู่วิสําหกิจชุมชน
ซ่ึงต่อมาได้มีการเปลี่ยนจากวัดมหานิกายเป็น วดั ธรรมยตุ ในเวลาตอ่ มา ปจั จบุ นั ชาวภไู ทยในพนื้ ที่ จังหวัดสกลนครและนครพนมยังคงเคารพยึดถือ คาสอนของหลวงปู่ม่ันมาโดยตลอด และมีวิถีชีวิต ดงั้ เดมิ เหมอื นในอดตี เชน่ การตกั บาตรขา้ วเหนยี ว และการไม่กินเนื้อดิบ
และเมื่อได้เดินทางมาตามรอยคาสอนของ หลวงปู่ม่ันแล้ว ยังมีสถานที่ที่น่าสนใจในชุมชน ได้แก่ กลุ่มทอผ้าฝ้ายย้อมสีเปลือกไม้บ้านผักคาภู กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนทอผา้ ฝา้ ยยอ้ มครามบา้ นอนู ดง โฮมสเตยช์ มุ ชน กจิ กรรมตกั บาตรขา้ วเหนยี ว จงั หวดั สกลนคร รวมไปถึงฐานการเรียนรู้การทอผ้าไหม มัดหม่ี และศูนย์จาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนสามผง จงั หวดั นครพนม ซงึ่ ทา ใหเ้ กดิ การกระตนุ้ เศรษฐกจิ ภายในจังหวัด และเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์ ยกระดับการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน
โครงการนี้จัดข้ึนเพ่ือให้ทุกคนได้ยึดถือใน คณุ ความดี นอกจากการทอ่ งเทยี่ วแลว้ ยงั เปน็ การ เชิดชูเกียรติคุณขององค์หลวงปู่ม่ัน บูรพาจารย์ แห่งอีสาน ท่ีได้รับการยกย่องเชิดชูให้เป็นบุคคล สา คญั ของโลก และไดร้ ว่ มกนั นอ้ มระลกึ ถงึ พระคณุ ของท่าน ที่ได้บาเพ็ญคุณประโยชน์อย่างมากมาย ไวแ้ กพ่ ระพทุ ธศาสนาและสงั คมไทย พรอ้ มนอ้ มนา หลักคาสอนมาปฏิบัติสืบต่อไป
  การตามรอยเส้นทางหลวงปู่มั่นในพ้ืนท่ีภาค ตะวันออกเฉียงเหนือนับเป็นพื้นที่ท่ีมีความสาคัญ โดยเฉพาะเป็นเส้นทางวาระแห่งการละสังขาร ซึ่งท่านเคยจาพรรษาและพักวิเวกในช่วงสุดท้าย ในชวี ติ สมณะ และมน่ั หมายวา่ จะละสงั ขารในพน้ื ที่ จังหวัดสกลนคร
สถานท่ีแรก ได้แก่ วัดป่านาคนิมิตต์ ตาบล ตองโขป อาเภอโคกศรีสุพรรณ ท่านได้เลือก จาพรรษาท่ีนี่ บนกุฏิหลวงปู่ม่ันยังเป็นเหมือน ศาลาแสดงธรรมของหลวงตาทา่ นทช่ี อื่ วา่ มตุ โตทยั ในปี ๒๔๘๕ และยังเป็นท่ีกาเนิดบันทึกพระธรรม เทศนาที่สาคัญของหลวงปู่ม่ัน ที่บันทึกคร้ังแรก ณ วัดน้ี โดยพระอาจารย์วิริยังค์
วดั ปา่ ภรู ทิ ตั ตถริ าวาส หรอื วดั ปา่ หนองผอื นาใน ตาบลนาใน อาเภอพรรณานิคม ท่านได้จาพรรษา ในชว่ งปจั ฉมิ วยั เปน็ ระยะเวลา๕ปีซง่ึ นบั เปน็ สถานที่ ทท่ี า่ นพา นกั นานทสี่ ดุ และใชเ้ ปน็ ทส่ี ง่ั สอนลกู ศษิ ย์
120 ๑๒๐
อนุสาร อ.ส.ท.   เมษายน ๒๕๖๓
วดั ปา่ กลางโนนภู่ ตา บลไร่ อา เภอพรรณานคิ ม วาระสุดท้ายก่อนนิพพาน ท่านทราบถึงความ เป็นไปในอนาคตและปรารภท่ีจะไปมรณภาพที่ วดั ปา่ สทุ ธาวาส จงึ ไดพ้ กั ทศี่ าลาหลงั เลก็ ของวดั ปา่ กลางโนนภู่ก่อนเป็นเวลา ๑๐ วัน
วดั ปา่ สทุ ธาวาส ตา บลธาตเุ ชงิ ชมุ อา เภอเมอื งฯ เป็นสถานที่ที่ท่านเคยธุดงค์มาจาพรรษา และ ในช่วงอาพาธหนัก ท่านประสงค์จะมาละสังขาร ที่วัดแห่งน้ี และในที่สุดท่านมรณภาพเมื่อวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๙๒ รวมอายุได้ ๘๐ ปี ๕๘ พรรษา
นอกจากน้ียังมีอีกหนึ่งพ้ืนท่ีสาคัญในจังหวัด นครพนม ได้แก่ วัดโพธ์ิชัย ตาบลสามผง อาเภอ ศรีสงคราม โดยท่านได้ปักกลดจาพรรษาท่ีน่ีเป็น ระยะเวลา ๓-๔ พรรษา และได้เปลี่ยนแปลง ความเช่ือของชาวบ้านจากการนับถือผี มาเป็น นบั ถอื หลกั ธรรมคา สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
   



















































































   120   121   122   123   124