Page 85 - อนุสาร อสท. ฉบับที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓
P. 85
สัมภาษณ์
ชตาทิพย์ อาพันทอง สัมภาษณ์ ธีระพงษ์ พลรักษ์ ภาพ
น า ย ป ยิ ะ ป ติ เ ุ ต ช ะ
นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ระยอง
ในฐานะนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง ท่านมีนโยบายส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ของจังหวัดระยองอย่างไรบ้าง
องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยองได้ส่งเสริม และใหค้ า แนะนา สมาคมธรุ กจิ ทอ่ งเทยี่ วตลอดจน ผปู้ ระกอบการทอ่ งเทย่ี วตา่ ง ๆ รวมถงึ มงี บประมาณ สนับสนุนเร่ืองการปรับปรุงถนนหนทางท่ีจะเข้าสู่ ชุมชนที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ รวมถึงดูแลเรื่อง ไฟสอ่ งสวา่ งในพนื้ ทที่ อ่ งเทยี่ ว ในสว่ นของการสง่ เสรมิ ท่องเท่ียวชุมชน ที่ไหนมีจุดดีก็เข้าไปส่งเสริม อย่างเรื่องของบรรจุภัณฑ์สินค้าสาหรับใส่ผลไม้ จาหน่าย เราส่งเสริมการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ สวยงามนา่ ซอื้ เพอื่ ชว่ ยเพม่ิ มลู คา่ สนิ คา้ ในทอ้ งถนิ่ นอกจากนยี้ งั ไดส้ นบั สนนุ การจดั งานอเี วนตต์ า่ ง ๆ เชน่ งานปน้ั ทราย งานวงิ่ ชายหาด วงิ่ ชายทะเล และ งานเสม็ดอินเลิฟ ซึ่งเป็นงานที่ได้รับความสนใจ จากนักท่องเท่ียวจานวนมาก
ปจั จบุ นั ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ เรอ่ื งสา คญั องคก์ าร บริหารส่วนจังหวัดระยองมีการจัดการขยะในพื้นท่ี ที่เป็นแหล่งท่องเท่ียวอย่างไรบ้าง
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ระยองเขา้ ไปจดั การ ปัญหาส่ิงแวดล้อมและขยะ อย่างเกาะเสม็ด ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวสาคัญของจังหวัดระยอง นักท่องเท่ียวทั้งในประเทศและต่างประเทศต่างก็ มาเยือน จากปริมาณนักท่องเท่ียวจานวนมาก ส่งผลให้เกิดปริมาณขยะบนเกาะมากขึ้น เราจึง จัดการคัดแยก รวบรวม และนาขยะส่วนท่ีเหลือ กลบั ขนึ้ ฝง่ั โดยใชง้ บประมาณขององคก์ ารบรหิ าร ส่วนจังหวัดในการจัดการขยะ ขยะที่ถูกคัดแยก ออกมาอย่างขยะมูลฝอยจะนา มาผ่านกระบวนการ แปรรปู ใหเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ ขยะ RDF (Refuse Derived Fuel) ซึ่งเป็นพลังงานทดแทน ทาก๊าซหุงต้ม ส่วนกากที่เหลือจากการหมักก็นาไปทาปุ๋ย อันน้ี เป็นผลงานท่ีเป็นรูปเป็นร่างชัดเจน สามารถไป ศึกษาดูงานได้ว่ามีการจัดการอย่างไร สาหรับ แหล่งท่องเที่ยวอ่ืน ๆ ในจังหวัด ไม่ว่าจะอยู่ ชายหาดไหน อบต. ไหน เทศบาลไหน เราทา หนา้ ที่ เปน็ ศนู ยก์ า จดั ขยะครบวงจร เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หา เรื่องขยะตกค้างในแหล่งท่องเท่ียว
มีแหล่งท่องเท่ียวที่ไหนที่อยากจะแนะนา
ในสว่ นของแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วจะเนน้ การปรบั ปรงุ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วทมี่ อี ยเู่ ดมิ ใหส้ วยงามและพรอ้ มรบั นักท่องเที่ยวมากกว่า เพราะองค์การบริหารส่วน จังหวัดตระหนักถึงความสาคัญของโครงการ พฒั นาระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor-EEC) ซงึ่ เปน็ แผนยทุ ธศาสตร์ ภายใต้ไทยแลนด์ ๔.๐ ด้วยการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี อย่างเช่น หากสนามบินอู่ตะเภามีผู้เดินทาง มาท่องเท่ียวโดยเครื่องบินจานวนมาก เราจะ อา นวยความสะดวกในเรอื่ งการเดนิ ทาง การขนสง่ สาธารณะ โดยมีแผนการสร้างรถไฟฟ้ารางเบา สาหรับเช่ือมต่อการเดินทาง เพื่อนานักท่องเท่ียว ไปยังแหล่งท่องเท่ียวแต่ละแห่งได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว รวมถึงปรับปรุงและพัฒนาแหล่ง ทอ่ งเทย่ี วอยา่ งพระเจดยี ก์ ลางนา้ โบราณสถาน สาคัญซ่ึงอยู่บริเวณปากน้าและป่าชายเลน
ซง่ึ เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรแู้ ละศกึ ษาระบบนเิ วศ รวมถงึ เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ของชาวระยอง
นอกจากนี้ยังมีโครงการพัฒนาและ ปรับปรุงถนนเฉลิมบูรพาชลทิต ตลาด ตะพง หาดแมพ่ มิ พ์ และทา่ เรอื บา้ นเพให้ สวยงาม เป็นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพื่อรองรับนักท่องเท่ียวที่จะมีมากขึ้น ในอนาคต
ในด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ไดเ้ ขา้ ไปสง่ เสรมิ สวนผลไมใ้ นตา บลทมี่ ี สวนผลไมเ้ กา่ แกค่ ณุ ภาพดมี าเนนิ่ นาน เช่น ตา บลตะพง ตา บลบ้านแลง และ ตาบลนาตาขวัญ ส่วนสวนผลไม้ใหม่ ก็จะมีการพัฒนาในรูปแบบสมาร์ต ฟารม์ เมอร์ และมตี ลาดประมลู หอ้ งเยน็ สาหรับใช้เก็บผลไม้ไว้นาออกมา จาหน่ายในช่วงนอกฤดูกาล เพ่ือให้ มีผลไม้กินได้ทั้งปีและนักท่องเที่ยว สามารถไปเท่ียวได้ตลอดทั้งปี เพราะ การท่องเท่ียวถือเป็นรายได้หลักของ ประเทศ
83 83 อนุสาร อ.ส.ท. เมษายน ๒๕๖๓