Page 108 - อนุสาร อสท. ปีที่ ๖๐ ฉบับที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓
P. 108
สวัสดีวิถีไทย
อรกานต์ จามรมาน เร่ือง ธีรพัฒน์ บุปผาพิบูลย์ ภาพ รอยเค้าหนังตะลุง
จิตวิญญาณและการสืบสานสร้างสรรค์
พรม : “เฮ้ยไอ้เปรื้อย ผู้หญิงคนน้ันสวยม้ัย”
เปรื้อย : “อ๋อ...เอาได้”
พรม :“เฮ้ย!พูดงั้นได้ไงเดี๋ยวก็โดนคนถีบหงายขี้เต้ว!!!” เปรื้อย : “เอาได้ ภาษาระยองเขาหมายถึงดี ใช้ได้ เช่น อร่อยไหม
ก็บอกว่าเอาได้ สวยไหม ก็ว่าเอาได้โว้ยยย”
“บรรพบุรุษเล่าต่อ ๆ กันมาว่า เมื่อปี ๒๔๘๗ ถึง ๒๔๘๙ มีนายหนังผู้หญิงจากพัทลุง ชื่อย่าแดง มาเลน่ หนงั ตะลงุ แถบอา เภอบา้ นคา่ ย จงั หวดั ระยอง หลวงปทู่ าบ เจา้ อาวาสวดั กระบกขนึ้ ผงึ้ ในตอนนน้ั ทา่ นชอบเลยชกั ชวนยา่ แดงใหอ้ ยทู่ นี่ ี่ ซง่ึ ยา่ แดงกไ็ ด้ ถ่ายทอดความรู้น้ีให้คนระยอง” อาจารย์สมควร ปานกลาง ศลิ ปนิ ดเี ดน่ จงั หวดั ระยอง ปี ๒๕๕๒ สาขา การแสดงหนังตะลุง และหัวหน้าคณะหนังตะลุง วัดกระบกขึ้นผึ้ง เล่าขณะที่เครื่องดนตรีโหนงเข่ง โทน กลองตกุ๊ ฉงิ่ ฉาบ และกรบั กา ลงั บรรเลงเพลง โหมโรง ซึ่งเป็นเพลงที่บรรเลงก่อนการแสดง
“คนแรกที่ได้รับการถ่ายทอดคือปู่ของผมเอง แกเลน่ หนงั สดมากอ่ น คอื เลน่ เอง รอ้ งเอง พากยเ์ อง แต่เมื่อได้รับการถ่ายทอดวิชาหนังตะลุงจากย่าแดง แกจะมารอ้ งเลน่ อยา่ งคนใตแ้ ท้ ๆ คงไมไ่ ด้ กเ็ ลยเอา ทา นองโขนสดมาใสใ่ นหนงั ตะลงุ เอาคา พนื้ ถนิ่ ระยอง
106 1๐6
อนุสาร อ.ส.ท. เมษายน ๒๕๖๓
มาใส่ในบทร้อง ตัวหนังก็มีการเพี้ยนไปจากของ ปักษ์ใต้ เลยได้เป็นเอกลักษณ์หนังตะลุงระยอง” เขาเล่าต่อ
“ส่วนหนังตะลุงคน จุดเร่ิมต้นคือเมื่อสัก ๒๐ ปกี อ่ น ในงานวนั ครู ผมอยากจะทา การแสดงใหม่ ๆ เลยจับพวกครูด้วยกันมาแต่งหน้า แต่งตัว ตามตัว หนังตะลุง มีคนพากย์คอยจับเชือกที่ติดไว้ที่ปาก เสมือนว่ากาลังเชิดหนัง ส่วนตัวคนเล่นก็จะต้อง ทา ทา่ ทางใหเ้ หมอื นกบั ตวั หนงั นนั้ ๆ และขยบั ปาก ไปตามคนพากย์ มาทหี ลงั กไ็ ดอ้ าจารยส์ มควรมาชว่ ย อกี แรง” อาจารยอ์ า ไพ บญุ รอด อดตี ขา้ ราชการครู ผู้ให้กาเนิดหนังตะลุงคนเล่า
“โหนง่ เหนง่ โหนง่ แกละ หนง่ เหนง่ โหนง่ แกละ หน่งเหน่ง โหน่งแกละ หน่งเหน่ง โหน่งแกละ”
โหนงเข่งเสียงดังกังวานเร่งเร้า โทน กลองตุ๊ก และฉงิ่ ฉาบ กรบั (แตไ่ มม่ โี หมง่ ) ตา่ งกช็ ว่ ยกนั เรง่ รวั
จังหวะ แล้วตัวตลกเอกขวัญใจแฟนหนังตะลุง ระยองอย่างไอ้เปรื้อยและไอ้พรมก็ค่อย ๆ เขย้ือน เคลื่อนตัวเข้ามาด้วยอากัปกิริยาท่ีลอกเลียน การเคลอื่ นไหวของหนงั ตะลงุ ทมี่ คี นเชดิ อยหู่ ลงั ฉาก สองไหล่ยักข้ึนลงเป็นจังหวะ แขนและข้อศอก แกวง่ ไกวตามการขยบั ตวั ปากพยกั พเยดิ และสองขา โขยกเขยกพาตัวหนังตะลุง (คน) ให้โหย่งตัวเดิน
“สองตวั นเี้ ปน็ ตวั ตลกทส่ี รา้ งความบนั เทงิ ออกมา ทีไรก็เห็นผู้ชมหัวเราะชอบใจกัน” อาจารย์สมควร กลา่ ว และวา่ เพราะบทรอ้ งและบทเจรจาของตวั ตลก มกั จะเปน็ เรอื่ งราวใกลต้ วั ของคนทวั่ ไปอยา่ งเรอื่ งราว ทางสงั คม เรอ่ื งการเมอื ง เรอ่ื งสองแงส่ องงา่ ม ไปจนถงึ การแซวคนท่ีผู้ชมรู้จัก เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด นายกเทศมนตรี นายก อบต. เป็นต้น
“ตวั ไอพ้ รมนา่ จะเพย้ี นมาจากตวั หนงั ตะลงุ ใต้ เท่ง หนูนุ้ย หรือไม่ก็ยอดทอง ตัวไอ้เปร้ือย ถ้าค้น