Page 121 - อนุสาร อสท. ปีที่ ๖๐ ฉบับที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓
P. 121

      นายเทอดศักดิ์ เย็นจุระ ผู้อานวยการกลุ่ม อนรุ กั ษโ์ บราณสถาน สา นกั ศลิ ปากรท่ี ๗ ไดน้ า ชม โบราณสถานทไี่ ดร้ บั การบรู ณะขนึ้ มาใหม่ หลงั จาก พงัทลายไปบางสว่นจากแผน่ดนิไหวคอื“หอพระเจา้” สถาปตั ยกรรมพมา่ สมยั อาณานคิ มสรา้ งในราวตน้ พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ก่อด้วยอิฐฉาบปูน ด้านหน้า อาคารก่อเป็นซุ้มโค้ง ๕ ช่อง ประดับตกแต่งด้วย ลวดลายปูนปั้นแบบพม่า ภายในเคยประดิษฐาน พระพทุ ธรปู ปางไสยาสน์ หรอื ปางปรนิ พิ พาน และ พระพุทธรูปนั่งปางมารวิชัยอีก ๔ องค์ และเจดีย์ ประธานศิลปะพม่าสร้างในสมัยเดียวกันเคยถูก ขุดเจาะเอาสมบัติไปต้ังแต่สมัยสงครามโลกจน ยอดเจดีย์หักพังลงมา โบราณสถานทั้งสองแห่ง
ปัจจุบันกลับคืนสู่สภาพสมบูรณ์ โดย เฉพาะองคเ์ จดยี ใ์ นชว่ งฤดฝู นจะหม่ คลมุ
ด้วยตะไคร่เขียวครึ้มสวยงาม ปิดท้ายรายการทัศนศึกษาครั้งนี้
ด้วยการเย่ียมชมแนวกาแพงและคูเมือง ของเวยี งเจด็ ลนิ เมอื งโบราณเชงิ ดอยสเุ ทพ ภายใน อาณาบริเวณล้อมรอบด้วยแนวคันดินและคูน้า ก่อข้ึนเป็นวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๙๐๐เมตรชื่อของเวียงเจ็ดลินสันนิษฐานว่า มาจากการที่มีลาน้า ๗ สายไหลรวมกันในบริเวณ เวยี งแหง่ นี้ ซงึ่ ความเปน็ มายงั คงเปน็ ปรศิ นา เพราะ หากยึดหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในตานาน ระบวุ า่ สรา้ งโดยฤาษี ใหก้ บั ชนพน้ื เมอื งคอื ชาวลวั ะ ปกครองกันเอง ส่วนเอกสารประวัติศาสตร์อื่น ๆ กลา่ วถงึ การสรา้ งเวยี งเจด็ ลนิ ในสมยั พญาสามฝง่ั แกน ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ในขณะท่ีหลักฐาน ทางโบราณคดีจากการเจาะดินจากกาแพงไป หาค่าอายุด้วยวิธีเรืองแสงความร้อน ได้อายุราว
พุทธศตวรรษที่ 1๓ และการขุดค้นแนวกาแพง ทางทิศเหนือพบชิ้นส่วนเครื่องถ้วยสันกาแพง กาหนดอายุได้ราวพุทธศตวรรษท่ี 1๙-๒๐ และ ล่าสุดจากการขุดค้นภายในพื้นที่เมืองเม่ือปี ๒๕๕๒ พบร่องรอยการใช้พื้นที่มาตั้งแต่ยุคก่อน ประวตั ศิ าสตร์
ตราบใดทกี่ ารขดุ คน้ และศกึ ษาทางโบราณคดี ของกรมศิลปากรยังคงดาเนินต่อไป สักวันหนึ่ง ขา้งหนา้อาจจะพบขอ้มลูใหม่ๆทจี่ะใชเ้ปน็กญุแจ ไขปรศิ นาเหลา่ นไี้ ด้ และเมอ่ื ถงึ วนั นนั้ อนสุ าร อ.ส.ท. จะได้นา ความคืบหน้ามารายงานให้ทราบต่อไป
ผู้สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมสามารถรับชม ภาพถ่ายและวีดิทัศน์ของการเดินทางในโครงการ ส่ือมวลชนสัญจร “ตามรอยอารยธรรมล้านนา วา่ ดว้ ยโลหกรรม สถาปตั ยกรรม จติ รกรรมลา้ นนา กับการอนุรักษ์” ได้ที่แฟนเพจเฟซบุ๊ก “แวะชม สมบัติศิลป์” www.facebook.com/arton theways
119 11๙ อนุสาร อ.ส.ท.   เมษายน ๒๕๖๓
   


























































































   119   120   121   122   123