Page 114 - OST April 2020
P. 114

 อ.ส.ท. เยาวชนตากล้องท่องเท่ียวไทย
“กล้องเล็ก ถ่ายภาพโต” ชวนเที่ยวและชวนถ่าย (ภาพ)
ตามไปเยย่ี มเรอื นของยา่ จนั -ยา่ มกุ
(ทา้ วเทพกระษตั ร-ี ทา้ วศรสี นุ ทร)
          นางสาวจิตบุญ ตันติกิจ เรื่องและภาพ
นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ โรงเรยี นภเู กต็ วทิ ยาลยั จงั หวดั ภเู กต็
อนสุ าวรยี ท์ า้ วเทพกระษตั รแี ละทา้ วศรสี นุ ทรตง้ั โดดเดน่ เปน็ สงา่ อยกู่ ลางวงเวยี นสแ่ี ยกทา่ เรอื ในอาเภอถลาง เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางของชาวภูเก็ตและนักท่องเท่ียวท่ีเดินทางเข้าเมือง เหน็ แลว้ ตอ้ งยกมอื ไหวด้ ว้ ยความนบั ถอื วา่ ทา่ นทงั้ สองเปน็ วรี สตรที ปี่ กปอ้ งเมอื งจากการรกุ ราน ของพม่าในศึกถลางเมื่อประมาณสองร้อยกว่าปีล่วงมาแล้ว
แต่บ้านของท้าวเทพกระษัตรี (ย่าจัน) กลับไม่เป็นที่รู้จักมากนัก นอกจากชาวบ้านในเขตตาบล เทพกระษตั รเี ทา่ นนั้ ทที่ ราบถงึ บรเิ วณทตี่ งั้ ของบา้ นในอดตี ของวรี สตรเี มอื งถลางทา่ นนี้ เพราะมแี ผน่ ปา้ ยปนู ที่สร้างเมื่อปี ๒๕๒๒ ติดต้ังเอาไว้ ใจความว่า
“หนา้ เรอื นแมห่ มา้ มขี ามคอมา้ มหี วา้ กาจบั มตี น้ มว่ งคลา้ มสี ระหนา้ บา้ น มคี โู ดยรอบ มขี อบคา่ ยไผ่ คาเชิญตายายผีถลาง ที่บ่งบอกบริเวณบ้านท้าวเทพกระษัตรี (จัน) สถานที่นี้เดิมเป็นจวนของจอมร้าง บ้านเคียน ผู้รั้งเมืองถลาง ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แล้วตกมาเป็นมรดกของบุตรสาวคือ ทา่ นผหู้ ญงิ จนั (ทา้ วเทพกระษตั ร)ี ทา่ นผหู้ ญงิ จนั ไดส้ รา้ งคา่ ยไมต้ ะเคยี นไวต้ า้ นศกึ พมา่ จนพมา่ แตกพา่ ย ไปเมื่อวันท่ี ๑๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๒๘ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ เคยเสด็จ ทอดพระเนตรเมื่อวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๒ (ร.ศ. ๑๒๘ )”
ใกล้ ๆ กนั มศี าลเพยี งตาเปน็ เรอื นไทยยกพนื้ สงู ดา้ นหนา้ มรี ปู หลอ่ ของทา้ วเทพกระษตั รแี ละทา้ วศรสี นุ ทร ขนาดจาลองตั้งอยู่ด้านบน ให้ผู้คนที่มาเยือนได้จุดธูปกราบไหว้ขอพรเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเอง
ที่ผ่านมาดิฉันได้เคยไปเยือนบริเวณที่สันนิษฐานว่าเคยเป็นตั้งของบ้านย่าจันหลายครั้ง เดิมเป็น ทวี่ า่ งเปลา่ รกชฏั เนอื้ ทปี่ ระมาณ ๑๒๖ ตารางเมตร เตม็ ไปดว้ ยวชั พชื อยกู่ ลางแจง้ ไมม่ ตี น้ ไมใ้ หญใ่ หร้ ม่ เงา แวดล้อมไปด้วยบ้านเรือนของผู้คน จนกระทั่งปี ๒๕๕๗ ทางเทศบาลตาบลเทพกระษัตรีจึงได้สร้าง เรอื นจา ลองบา้ นทา้ วเทพกระษตั รขี นึ้ ในพน้ื ทดี่ งั กลา่ ว ลกั ษณะเปน็ เรอื นฝาไมก้ ระดานภาคใต้ ชนั้ เดยี ว ใตถ้ นุ สงู ขนาดกวา้ ง ๙ เมตร ยาว ๑๔ เมตร มบี นั ไดขนึ้ ทางดา้ นหนา้ และมชี านระเบยี งกอ่ นจะเขา้ ตวั เรอื น หนา้ จวั่ ของบา้ นเปน็ รปู ดวงอาทติ ยค์ รงึ่ ดวงเปลง่ แสงอยา่ งทชี่ า่ งสรา้ งบา้ นของภาคใตน้ ยิ มทา กนั ใชเ้ วลากอ่ สรา้ ง ๒ ปี งบประมาณ ๓,๓๐๐,๐๐๐ บาท โดยใชง้ บของเทศบาลตา บลเทพกระษตั รี และคหบดใี นจงั หวดั ภเู กต็
ภายในบา้ นมรี ปู หลอ่ เรซนิ จา ลองของยา่ จนั -ยา่ มกุ ในชว่ งวยั กลางคน ซงึ่ ทงั้ สองทา่ นมผี วิ ขาว ทรงผม ดอกกระทมุ่ อยใู่ นอริ ยิ าบถนง่ั หอ้ ยขาเรยี บรอ้ ยบนตง่ั ไมโ้ บราณ ทงั้ สองทา่ นสวมเสอ้ื ทรงกระบอก หม่ ผา้ สไบ ทับอีกชั้น นุ่งโจงกระเบน พื้นที่ว่างบนตั่งระหว่างทั้งสองท่านมีเชี่ยนหมากทองเหลืองตั้งประดับ ขณะ ที่ดิฉันได้เข้ากราบสักการะท่าน รู้สึกขนลุกซู่ตลอด เหมือนกับเราได้เข้าไปนั่งใกล้ผู้ใหญ่ที่ใจดี เอ็นดู ต่อเราที่เป็นลูกหลานของท่านในรุ่นต่อมา สัมผัสได้ถึงพลังใจของท่านท่ีอาจหาญ สู้รบปรบมือกับข้าศึก
112 ๑๑๒
อนุสาร อ.ส.ท.   เมษายน ๒๕๖๓
โดยไมเ่ กรงกลวั ตอ่ ความตาย ประวตั วิ รี กรรมยอ่ ๆ ของย่าจัน-ย่ามุก ขอเล่าโดยสังเขปดังนี้
ในสมัยรัชกาลท่ี ๑ พระเจ้าปดุงแห่งพม่า ยกกองทัพรวม ๙ ทัพมาตีไทย โดยกระจายทัพ ต่าง ๆ เข้ามาทางชายแดนไทยทุกทิศ ทัพที่ ๑ ยกมาทางใต้ มที งั้ ทพั บกและทพั เรอื ทพั บกตตี งั้ แต่ ชุมพรถึงสงขลา ทัพเรือตีหัวเมืองตะวันตก ตั้งแต่
           


















































































   112   113   114   115   116