Page 119 - OST April 2020
P. 119
พิเศษที่พบได้ยาก (ปัจจุบันพบสุสานที่มีอายุร่วม สมัยทวารวดีซึ่งมีการปลงศพรูปแบบเดียวกันน้ีอีก แหง่ เดยี วเทา่ นนั้ คอื แหลง่ โบราณคดดี งแมน่ างเมอื ง อา เภอบรรพตพสิ ยั จงั หวดั นครสวรรค)์ ทน่ี า่ สนใจ ยิ่งขึ้นไปอีกคือในโครงกระดูกโครงหนึ่ง ระหว่าง กระดกู สนั หลงั กบั สะโพกยงั พบ “อจุ จาระโบราณ” ตรงบริเวณช่องท้อง เป็นดินสีแปลก ลักษณะเป็น กลุ่มก้อน แตกต่างกับดินในบริเวณรอบ ๆ อย่าง ชดั เจนซงึ่ เปน็ หลกั ฐานทพ่ี บไดย้ ากมากสามารถนา ไปใชว้ เิ คราะหห์ าขอ้ มลู อาหารการกนิ ความเปน็ อยู่ ของผู้คนในสมัยนั้นอีกด้วย
หลมุ ขดุ คน้ วดั ทา่ กานถอื วา่ มคี วามสา คญั ทส่ี ดุ แห่งหนึ่ง เนื่องจากเป็นหลักฐานทางโบราณคดี เชิงประจักษ์ในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อประวัติศาสตร์ ชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 1๓-1๗ ซงึ่ พบยาก นา่ เสยี ดาย ท่ีสภาพดินในหลุมขุดค้นมีความอ่อนตัวสูง จึงไม่ สามารถรกั ษาสภาพเปน็ หลมุ ขดุ คน้ ไวใ้ นพนื้ ทแี่ บบ ถาวร รวมทงั้ ไมส่ ามารถตดั แทน่ ในสภาพทพ่ี บจรงิ เพื่อนามาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ได้ จึงจาเป็นต้อง
เกบ็ กกู้ ระดกู และโบราณวตั ถตุ า่ ง ๆ ขนึ้ มาทง้ั หมด อย่างไรก็ตาม ด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบัน ทาง กรมศลิ ปากรไดบ้ นั ทกึ ภาพหลมุ ขดุ คน้ โดยละเอยี ด นา มาประมวลผลดว้ ยโปรแกรม Reality Capture พิมพ์เป็นแบบจาลองสามมิติด้วยเส้นพลาสติก ในอตั ราสว่ น 1 ตอ่ ๕๐ แลว้ ลงสจี นไดแ้ บบจา ลอง หลมุ ขดุ คน้ ทางโบราณคดวี ดั ทา่ กานยอ่ สว่ นเสมอื น ของจรงิ ทใี่ ชใ้ นการเรยี นรศู้ กึ ษาไดอ้ ยา่ งดี ถอื ไดว้ า่ เป็นนวัตกรรมของวงการโบราณคดีไทย
ชว่ งสายคณะทศั นศกึ ษาออกเดนิ ทางดว้ ยรถตู้ ไปยังอาเภอล้ี จังหวัดลาพูน โดยใช้ทางหลวง หมายเลข 1๐๖ ระหวา่ งทางไดแ้ วะสกั การะอโุ บสถ อุปสัมปทาสถานครูบาศรีวิชัย วัดบ้านโฮ่งหลวง บนท่ีธรณีสงฆ์ของวัดบ้านโฮ่งหลวงเดิม บ้านโฮ่ง หมู่ที่ ๒ ตาบลบ้านโฮ่ง อาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัด ลาพูน ระยะห่างจากท่ีว่าการอาเภอบ้านโฮ่ง ประมาณ ๒ กิโลเมตร ในวันที่ 11 มิถุนายนจะมี งานบาเพ็ญบุญทักษิณานุปทาน เปลี่ยนผ้าครอง รูปเหมือนครูบาศรีวิชัยทุกปี
ที่อาคารศูนย์การเรียนรู้ องค์การบริหารส่วน ตา บลแมล่ านนายยอดดนยั สขุ เกษมนกั โบราณคดี ได้นาชมเตาถลุงเหล็กโบราณ มีขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง ๙๐ เซนติเมตร ที่ได้จากการขุดค้นเพ่ือ ศึกษาแหล่งถลุงเหล็กโบราณในพื้นที่บ้านแม่ลาน อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ถือเป็นหลักฐานทางโบราณคดีชิ้นสาคัญที่สุด ชิ้นหนึ่ง เนื่องจากมีอายุราว พ.ศ. ๒๙๔ หรือ ราวพุทธศตวรรษที่ ๓ อยู่ในช่วงต้นยุคเหล็กของ ประเทศไทย ก่อนการสถาปนารัฐหริภุญชัยกว่า 1,๐๐๐ ปี แสดงใหเ้ หน็ วา่ ภาคเหนอื มีชุมชนก่อน ประวตั ศิ าสตรท์ พี่ ฒั นาการเขา้ สยู่ คุ เหลก็ พรอ้ มกนั กับภูมิภาคอื่นเช่นกัน
117 11๗ อนุสาร อ.ส.ท. เมษายน ๒๕๖๓