Page 119 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 119

เขากว็ งิ่ ไปนนู่ ไปนี่ จะรสู้ กึ วา่ โอ! ไมม่ สี มาธเิ ลย นงั่ แลว้ วอกแวกตลอดเวลา นั่นจึงต้องมีอารมณ์หลักให้กับจิตเรา
อารมณ์หลักที่เราไม่ต้องสร้างคือตามรู้ลมหายใจ แต่ในขณะ เดยี วกนั ธรรมชาตขิ องจติ เรานี่ ถา้ ตามรลู้ มหายใจเขา้ -ออกเฉย ๆ จติ กเ็ ปน็ อะไรที่ไม่ชอบของจาเจ ไม่ชอบอยู่กับเรื่องเดิม ๆ ซ้า ๆ มักจะหาสิ่งใหม่ ๆ เขา้ มารบั รอู้ ยเู่ สมอ แตธ่ รรมชาตขิ องลมหายใจเรากพ็ สิ ดารมากกวา่ ทเี่ ราจะ รู้สึกว่าแค่หายใจเข้า-ออก ตรงนั้นแหละที่ให้เราพิจารณา “ความไม่เที่ยง” ของลมหายใจเข้า-ออก พิจารณาการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป การที่จะให้สติ รอู้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั เราเพมิ่ เจตนาทจี่ ะรวู้ า่ ลมหายใจเขา้ -ออกนนั้ เปลยี่ นแปลง เป็นอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร ดังที่เราเคยได้ยินได้ฟังว่า เวลาหายใจ ออกยาวก็ให้รู้ว่ายาว สั้นก็ให้รู้ว่าสั้น...
จริง ๆ ประเด็นก็คือว่า ให้พิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลง ความ เปลยี่ นแปลงตรงนกี้ ค็ อื ความไมเ่ ทยี่ งของลมหายใจเขา้ -ออกนนั่ เอง บางที ยาว บางทีสั้น บางทีแรง บางทีเบา กระจายไป ขาดเป็นช่วง ๆ ขาดเป็น ขณะเป็นตอน ๆ ถ้าเราสนใจการเปลี่ยนแปลงตรงนี้ ก็จะมีอะไรใหม่ ๆ ให้ ตามรู้ตลอดเวลาที่เรานั่งกรรมฐาน เมื่อเห็นการเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ จิตเราจะไม่เซ็ง มันจะมีสิ่งใหม่ ๆ เกิดขึ้น แล้วจะมีความเพลิดเพลิน ตรงที่เพลิดเพลินตรงนี้เพลิดเพลินอยู่กับธรรมะ ไม่ต้องปรุงแต่ง ขณะ ที่เพลิดเพลินอยู่กับอารมณ์ธรรมชาติ ไม่ปรุงแต่งตรงนี้ สิ่งที่ตามมาคือ อะไร ? กลายเป็นว่าสมาธิเราดีขึ้น สงบ เราอยู่กับอารมณ์เดียวได้นานขึ้น อยู่กับอารมณ์หลักอารมณ์ปัจจุบันได้นานขึ้น สมาธิตั้งมั่นขึ้น
สงิ่ ทตี่ ามมาอกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื วา่ เมอื่ เราสงั เกตอาการของลมหายใจ อยา่ งชดั เจน รชู้ ดั ถงึ ความเปลยี่ นแปลงเปน็ ไป ตรงทรี่ ชู้ ดั ตรงนแี้ หละทเี่ ขา
115


































































































   117   118   119   120   121