Page 140 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 140

136
เหน็ บอ่ ย ๆ จติ กจ็ ะคลายจากอปุ าทาน เขาเรยี กวา่ ความเขา้ ใจผดิ หรอื ทฏิ ฐิ วิปลาส เห็นผิดคิดว่าเป็นของเที่ยง คิดว่าเป็นของเรา ความเห็นตรงนั้น หายไป กลายเป็นเห็นความเป็นจริงชัดเจนขึ้น เป็นสัมมาทิฏฐิที่มีความ ชัดเจนขึ้น ว่าเกิดแล้วดับไป มีแล้วหมดไป มีแล้วหายไป
พอเหน็ แบบนอี้ ยเู่ นอื ง ๆ เหน็ บอ่ ย ๆ ตรงทใี่ ชค้ า วา่ “เหน็ อยเู่ นอื ง ๆ เห็นอยู่บ่อย ๆ “ อันนี้สาคัญมาก ๆ เพราะอะไร ? บางครั้งเราไม่เช่ือมั่น ในการเห็นสภาวธรรมที่เกิดขึ้นจริง ๆ ของตนเอง บางครั้งเห็นแล้วก็ยัง สงสัย เอ๊ะ! เป็นจริงไหม!? เป็นจริงไหม!? จิตกับอารมณ์เป็นคนละส่วน กันจรงิหรอืเปลา่จติกบักายเปน็คนละสว่นจรงิไหมความคดิไมใ่ชข่องเรา จรงิ หรอื เปลา่ ความคดิ กบั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ไู้ มเ่ ทยี่ งจรงิ ๆ หรอื เปลา่ เกดิ ดบั จริงไหม... อันนี้ความสงสัยของเราจะเกิดขึ้น ความสงสัยอันนี้เกิดขึ้น เพราะอะไร ? ความสงสัยอันนี้เกิดข้ึนเป็นธรรมดา เกิดจากสติ-สมาธิ- ปัญญายังไม่แก่กล้าพอที่จะเห็นถึงความเป็นจริงอย่างชัดเจนแจ่มแจ้ง
เพราะฉะนั้น การที่เราสนใจคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า และมีเจตนาที่จะรู้ในลักษณะอย่างนี้บ่อย ๆ รู้แบบต่อเนื่อง อยู่เนือง ๆ ทุก ๆ อิริยาบถ มีอารมณ์อะไรปรากฏขึ้นมา ก็พิจารณาถึง ความเป็นคนละส่วน พิจารณาถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป สังเกตตรงนี้ มาก ๆ เราจะทาซ้า การที่ทาซ้าแบบนี้ก็เป็นข้อหนึ่งว่าธรรมะ/คาสอนของ พระพทุ ธเจา้ ทที่ รงตรสั เอาไวน้ นั้ เปน็ จรงิ เสมอ และทนตอ่ การพสิ จู น์ ถา้ ไม่ จริง ทาซ้าแล้วจะไม่เหมือนเดิม ไม่เห็น ไม่ชัดเจนเหมือนเดิม แต่คาสอน ของพระองค์ยิ่งทายิ่งชัด ยิ่งพิจารณายิ่งมีความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ คาว่าความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา กฎของไตรลักษณ์ตรงนี้เป็นสิ่ง สาคัญมาก ๆ พิจารณาแล้วไม่มีสิ่งใดเลยที่อยู่นอกกฎของไตรลักษณ์


































































































   138   139   140   141   142