Page 154 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 154

150
แตท่ นี่ เี้ รามาพดู ถงึ คา จา กดั ความวา่ การศกึ ษาธรรมะ/การพจิ ารณา ธรรมที่เป็นไปเพื่อความดับทุกข์ ที่บอก การไม่ทาบาปทางกาย การไม่ ทาบาปทางวาจา การไม่ทาบาปทางใจ... เวลาเราปฏิบัติธรรม ที่บอกว่า ปฏิบัติธรรมควรรักษาศีลให้บริสุทธิ์—การรักษาศีลให้บริสุทธิ์จะทาให้ สมาธิตั้งมั่นหรือเกิดขึ้นได้ง่าย ปัญญาก็จะตามมา ในแต่ละวันแต่ละวัน เราก็มีการกระทาทางกาย-วาจา มีเรื่องราวมากมาย บางทีก็รู้สึกว่าไม่ สามารถที่จะควบคุมตัวเองได้ คาพูดบางอย่างก็เป็นคารุนแรงคาหยาบ พูดแล้วนามาซึ่งความทุกข์ หรือพูดด้วยความรู้สึกที่ไม่ดี ด้วยโทสะบ้าง โลภะบ้างที่เกิดขึ้น
อยา่ งทบี่ อกแลว้ วา่ การเจรญิ ภาวนาคอื การชา ระจติ ใจ ใชส้ ตปิ ญั ญา พัฒนาจิตใจของตนเองให้สะอาดขึ้น ถ้าจิตใจเรามีความละเอียดขึ้น สติ แก่กล้าขึ้น ปัญญาแก่กล้าขึ้น รู้เท่าทันอารมณ์ของตนเองมากขึ้น เราก็จะ ควบคุมตัวเองได้ง่ายขึ้น ไม่ใช่เท่าทันอารมณ์ภายนอกนะ—เพราะอารมณ์ ภายนอกมีทั้งรูปทั้งเสียงทั้งกลิ่นทั้งรสเข้ามา ยังไงตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ ก็ยังทาหน้าที่ของตน แต่ “อารมณ์ของตนเอง” นี่แหละ เมื่อมีผัสสะทาง ตา-หู-จมูก-ลิ้น-กาย-ใจ มีรูป-เสียง-กลิ่น-รสเกิดขึ้นมา อารมณ์แบบไหน ของตนเอง—โลภะ โทสะ โมหะ มีความพอใจ/ไม่พอใจ มีความอึดอัด ขัดเคือง มีความราคาญ มีความหลง—เกิดขึ้น ?
สิ่งที่ควรรู้ตรงนี้คือ รู้จิตเรา—รู้ทันว่าขณะนี้จิตเป็นอย่างไร พอ รู้ทันว่าจิตดี/ไม่ดี อาการทางกายวาจาก็จะรู้ทันแล้ว พอจิตไม่ดี...เป็นเหตุ ปัจจัยให้อาการทางกายเป็นอย่างไร พอจิตไม่ดี...เป็นเหตุให้การกระทา ทางวาจาเปน็ อยา่ งไร กาย-วาจาของเราทจี่ ะเกดิ ขนึ้ เปน็ อยา่ งไร ถา้ เรารทู้ นั อารมณแ์ บบนี้ สภาพจติ ใจขนุ่ มวั แบบน—ี้ พอรปู้ บ๊ึ ความขนุ่ มวั เกดิ ขนึ้ แลว้


































































































   152   153   154   155   156