Page 169 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 169

เพราะอวชิ ชา เพราะความไมร่ ู้ ไมเ่ หน็ ถงึ สจั ธรรมทกี่ า ลงั เปน็ อยจู่ รงิ ๆ จงึ ทาให้ความทุกข์เกิดขึ้นมา ทีนี้ สิ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ สิ่งที่พระพุทธเจ้า แสดงหรือสอน พูดถึงกฎของไตรลักษณ์ พูดถึงรูปนามขันธ์ห้า พูดถึง ความเปน็ อนจิ จงั -ทกุ ขงั -อนตั ตาของอารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะเปน็ อารมณ์ ภายนอกหรือภายในก็ตาม นั่นคือสัจธรรมที่เราทุกคนสามารถพิสูจน์ได้ เพราะฉะนั้น รูปกับนามเป็นคนละส่วนกัน รูปกับนามเป็นคนละอย่างกัน กายกับจิตก็เป็นคนละส่วนกัน ขันธ์ต่าง ๆ ก็เป็นคนละส่วนกัน แต่เพราะ มีขันธ์ตรงนี้เกิดขึ้น จึงเข้าไปยึด
ถามว่า ขันธ์ตรงนี้ประกาศความเป็นใหญ่พร้อมกันไหม ? บาง ครั้งไม่เลย บางครั้งความคิด ที่เรียกสังขารขันธ์ ทาหน้าที่เป็นใหญ่ขึ้นมา คิดแล้วปรุงแต่งไปต่าง ๆ นานา... แล้วคนเราพอไม่มีปัญญา ถูกอวิชชา ครอบงา ก็เข้าไปยึดว่าความคิดเหล่านั้นเป็นตัวเรา เป็นของเรา ปรุงแต่ง ไป... บางครงั้ คดิ เอง เออเอง ทกุ ขเ์ อง...แบบนกี้ ม็ มี ากมาย ทกุ ขเ์ พราะความ ไม่เข้าใจ ไปยึดเอาความคิดว่าเป็นตัวเราของเรา เพราะฉะนั้น การจะไม่ ทุกข์กับความคิดอย่างนั้นทาอย่างไร ? ก็ให้พิจารณาความเป็นธรรมชาติ ความเป็นจริงว่าความคิดก็เป็นขันธ์ขันธ์หนึ่ง ความคิดก็ไม่เที่ยง ไม่ใช่ ตัวตน ไม่ใช่ของเรา
แต่ความคิดก็ทาตามหน้าที่ของตน ความคิดย่อมทาหน้าที่ของ ความคิด จึงเรียกว่า “ความคิด” ถ้าไม่คิดก็คงไม่เรียกว่าความคิด ถ้าไม่ เกิดขึ้นก็จะเรียกว่ามีความคิดก็ไม่ได้ แต่ความคิดที่เกิดขึ้นมีทั้งคุณและ โทษด้วยเหตุปัจจัยต่าง ๆ ทาไมความคิดถึงมีทั้งคุณและโทษ ? เพราะ ความคิดอาศัยเหตุปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นมา ถ้ามีปัญญา ความ คิดนั้นก็มีคุณแก่บุคคลนั้น ๆ การวิเคราะห์ การรู้จักคิด รู้จักเลือก ใส่ใจ
165


































































































   167   168   169   170   171