Page 261 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 261

อรยิ สจั สที่ พี่ ระองคไ์ ดต้ รสั รแู้ ลว้ มาแสดงใหก้ บั ปญั วคั คยี ท์ งั้ หา้ ไดฟ้ งั และ ตรสั ถงึ มรรคมอี งคแ์ ปดหรอื มชั ฌมิ าปฏปิ ทาทเี่ ราเคยไดย้ นิ ไดฟ้ งั กนั เพราะ ฉะนั้น วันนี้ขอเชิญทุก ๆ คนมาปฏิบัติธรรมร่วมกันเป็นพุทธบูชา เราได้ฟัง ธรรมมามากมาย เหลอื อยา่ งเดยี วทเี่ ราควรจะพสิ จู นใ์ หไ้ ดเ้ หน็ ไดป้ ระจกั ษ์ ด้วยตัวเองว่าธรรมะของพระพุทธองค์นั้นสาคัญแค่ไหน พิเศษอย่างไร
ที่เราเคยได้ฟังว่า มรรคมีองค์แปดหรือทางที่จะพ้นจากทุกข์นั้น เรมิ่ ตน้ ดว้ ยสมั มาทฏิ ฐิ สมั มาทฏิ ฐิ - เหน็ อยา่ งไรถงึ จะดบั ทกุ ขไ์ ด้ เหน็ อะไร ความทกุ ขถ์ งึ จะดบั ไป เหน็ อยา่ งไรอปุ าทานจงึ จะหายไป คา วา่ “สมั มาทฏิ ฐ”ิ นนั้ เรมิ่ ตงั้ แตก่ ารกระทา ทางกายวาจาของเรา ถา้ เปน็ ไปในทางทดี่ ที ถี่ กู ตอ้ ง ย่อมส่งผลต่อการดาเนินชีวิตของเราให้เป็นไปในทางที่ดีงาม หรือเรียกอีก อย่างหนึ่งก็เป็นศีลข้อหนึ่งที่เราจะนามาปฏิบัติ แต่สัมมาทิฏฐิที่เห็นแล้ว ความทกุ ขด์ บั ไปนนั้ เหน็ อะไร ? เหน็ ถงึ กฎไตรลกั ษณ์ ถงึ ความเปน็ อนจิ จงั ทุกขัง อนัตตา เพราะอริยสัจสี่เริ่มต้นด้วยการเห็นทุกข์ เห็นสมุทัย เห็น นิโรธ และเห็นวิธีปฏิบัติเพื่อถึงความดับทุกข์นั้น
ทีนี้ เราลองมาพิจารณาดูว่าในการปฏิบัติ ณ ปัจจุบันที่เราสามารถ ทาได้จริง ๆ สิ่งที่กล่าวมา ไม่ว่าจะเป็นสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมา วายามะ สัมมากัมมันตะ เหล่านี้เป็นศีลที่เราปฏิบัติในชีวิตประจาวัน เรา ทา ดี เราสา รวมกายวาจาดแี ลว้ แตส่ งิ่ หนงึ่ ทพี่ งึ เหน็ ทเี่ ปน็ สภาวธรรม ทเี่ ปน็ สัจธรรม ที่เป็นกฎไตรลักษณ์ อันนี้เรามาพิจารณาอะไร ? พิจารณาอาการ ของรูปนาม/ของกายของจิตที่กาลังเป็นอยู่ ณ ขณะนี้ เห็นรูปนามอย่างไร ? พิจารณาถึงความเป็นคนละส่วน พอพูดถึงรูปกับนาม ก็เป็นเรื่องของ สัจธรรมเรื่องความจริงของรูปนามขันธ์ห้า ที่บอกว่ารูปกับนามนั้นเป็น คนละส่วนกัน
257


































































































   259   260   261   262   263