Page 265 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 265

วิธีที่จะดับทุกข์ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของเรานั้นควรทาอย่างไร หรือจะทา อย่างไรทุกข์ถึงจะดับได้ ?
บางครงั้ เรากค็ ดิ เลยออกไปไกลวา่ ทา อยา่ งไรถงึ จะดบั ทกุ ขไ์ ด้ ทงั้ ๆ ที่ปัจจุบันขณะที่ปฏิบัติธรรมอยู่ ทาแล้วความทุกข์ก็หายไปดับไป แต่ก็ยัง กังวลว่าแล้วต่อไปถ้ามีทุกข์อื่นเกิดขึ้นมาจะดับอย่างไร ตรงนี้เป็นสิ่งที่ ผู้ปฏิบัติหรือโยคีสาธุชนผู้สนใจในธรรมคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมา- สัมพุทธเจ้าควรจะน้อมนาเข้ามาพิจารณาให้ชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า การได้เห็นถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างจิตกับอารมณ์ที่เกิดขึ้น จิตกับ กายที่เป็นคนละส่วนกัน แล้วเห็นถึงความไม่มีเรา ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา เป็นของเรา มีแต่จิตที่ทาหน้าที่รู้กับอารมณ์ที่ปรากฏขึ้น...
คาว่า “อารมณ์” ในที่นี้หมายถึงว่า รูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน กลิ่นที่ ปรากฏขนึ้ มา ความเยน็ รอ้ นออ่ นแขง็ ทเี่ ขา้ มากระทบกาย ความคดิ ความสขุ ความสงบ หรือธรรมะที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของเรา สภาวะเหล่านี้เรียกว่า เป็นอารมณ์ของจิต หมายถึงอารมณ์ที่จิตจะต้องรับรู้ เขาเรียกว่าอารมณ์ ทั้งหก คือรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ไม่ใช่อารมณ์ไม่ดี ไม่ใช่ อารมณ์ร้อน/อารมณ์หงุดหงิด/อารมณ์ขุ่นมัว อันนั้นจัดเป็นเวทนาทางจิต เวทนาทางจิตก็เป็นอารมณ์ของจิตอย่างหนึ่ง เป็นธรรมารมณ์ที่เกิดกับใจ แต่เรามักจะเรียกว่านั่นคือมีอารมณ์เกิดขึ้น
แต่จริง ๆ แล้วโดยธรรมชาติโดยปกติ จิตของคนเราจะต้องมี อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น จิตก็จะเกิดขึ้นมารับรู้อารมณ์นั้น ๆ แต่ ถ้าไม่มีอารมณ์อะไรปรากฏเกิดขึ้นเลย จิตก็ไม่ต้องเกิดขึ้นมารับรู้อารมณ์ แตเ่ ปน็ ไปไดย้ ากสา หรบั การไดเ้ กดิ มาเปน็ มนษุ ยแ์ ลว้ จติ กย็ งั ตอ้ งทา หนา้ ที่ เป็นเรื่องปกติ ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือเทวดาก็ตาม จะเป็นกายหยาบกาย
261


































































































   263   264   265   266   267