Page 312 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 312

308
รอบนั้นชาระอะไร ? ชาระอวิชชา ชาระกิเลส ความเข้าใจผิด ความหลงผิด ที่เรามักจะเรียกว่าโลภะ-โทสะ-โมหะหรือจะเรียกว่าตัณหาอุปาทานก็แล้ว แต่ แต่ก็เป็นเหตุปัจจัยที่ทาให้คนเราเกาะเกี่ยวอยู่กับอารมณ์ ไม่ได้เห็น ความเป็นจริงของรูปนามขันธ์ ๕
เมื่อเห็นรูปกับนามหรือกายกับใจเป็นคนละส่วนกัน รูปก็เป็นรูป ขันธ์ ใจรู้ก็เป็นวิญญาณขันธ์ พิจารณาต่อไป แล้วเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ล่ะ ? สังขารขันธ์ ได้แก่รูปสังขารอย่างหนึ่ง จิตตสังขารอย่าง หนึ่ง ลองดูว่า รูปสังขารอันนี้บอกว่าเป็นเราหรือเปล่า เป็นของเที่ยงไหม... ที่ถามว่ารูปเป็นของเที่ยงเป็นเราหรือเปล่านั้น จริง ๆ แล้วการกาหนดรู้ อาการของลมหายใจเข้า-ออก...จนลมหายใจหายไปหรือพองยุบหายไป ก็จะสามารถรู้สึกได้ถึงรูปกายที่นั่งอยู่ด้วยว่าเป็นอย่างไร พอจิตคลาย อุปาทาน รูปกายที่นั่งอยู่ก็ว่างเบา เราจะเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงความ เป็นไป ถ้าเป็นอารมณ์บัญญัติ ความเป็นฆนบัญญัติหรือความเป็นกลุ่ม ก้อนความเป็นรูปร่าง ไม่ว่าจะเป็นของอายตนะทั้ง ๖ หรืออาการต่าง ๆ ของกาย ก็ย่อมเสื่อมไปเปลี่ยนไปตามกาลเวลาตามเหตุปัจจัย
สภาวธรรมทเี่ ปน็ ปรมตั ถธรรมมอี าการเกดิ ดบั อยตู่ ลอดเวลา อยา่ ง เช่น อาการเต้นของหัวใจ อาการของชีพจร อาการเกิดดับของลมหายใจ หรอื พองยบุ พอพองยบุ ดบั ไป กจ็ ะเหน็ อาการทางกายมอี าการดบั ไป บางที ก็แตกกระจายไป บางทีก็มีอาการสลายเลือนไป หายเป็นส่วน ๆ ไป นั่นก็ คือความไม่เที่ยงความเปลี่ยนแปลงนั่นเอง เพราะฉะนั้น สังขารก็เป็น ของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ทุกข์ในที่นี้คืออยู่ในกฎไตรลักษณ์ คือทุกขลักษณะ เกิดขึ้นแล้วดับไป มีแล้วหายไปอย่างหนึ่ง ไม่มีสิ่งไหนที่ เที่ยงอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา เพราะฉะนั้น การที่เราปฏิบัติบูชาก็ด้วยการ


































































































   310   311   312   313   314