Page 98 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 98

94
พิจารณาดูแล้ว ไม่ว่าจะเป็นรูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส หรือธรรมารมณ์ท่ี เกิดข้ึนก็ตาม ก็แยกเป็นส่วน ๆ เป็นขันธ์ ๆ ไป
รูป เสียง กล่ินเหล่าน้ีก็เป็นลักษณะของรูปขันธ์ เวทนา สัญญา สงั ขารเกดิ ขน้ึ มากเ็ ปน็ นามขนั ธ์ สงั ขารอกี สว่ นหนง่ึ เปน็ รปู ขนั ธ์ กายสงั ขาร ก็เป็นรูปขันธ์ จิตสังขารก็เป็นนามขันธ์ เป็นคนละส่วนกัน เป็นคนละ ขันธ์ไป ขันธ์ท้ังห้าน่ีแหละเป็นที่ต้ังแห่งความยึดมั่น ด้วยความไม่รู้ความ ไม่เข้าใจ เพราะไม่พิจารณาถึงความจริงข้อนี้จึงทาให้สัตว์โลกต่าง ๆ ทั้ง หลายเขา้ ไปหลงผดิ คดิ วา่ รปู นามขนั ธห์ า้ นนั้ เปน็ ตวั เราของเรา เพราะฉะนนั้ คาสอนของพระองค์จึงให้เราพิจารณาขันธ์ทั้งหลาย รูปไม่เที่ยง เวทนาไม่ เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณไม่เที่ยง รูปเป็นทุกข์ เวทนา เปน็ ทกุ ข์ สญั ญาเปน็ ทกุ ข์ สงั ขารเปน็ ทกุ ข์ วญิ ญาณเปน็ ทกุ ข์ ทกุ ขลกั ษณะ คือเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป และรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณนั้นเป็น อนัตตา
เมื่อพิจารณาเห็นความจริงข้อนี้แล้ว จึงถามภิกษุว่าควรหรือที่ เข้าไปยึดว่าเป็นตัวเราของเรา บางครั้งเรารู้ว่าขันธ์ทั้งห้าไม่ได้บอกว่าเป็น ตัวเราของเรา ไม่อยากจะยึดแต่ก็ยังยึด ไม่อยากจะยึดก็ยึด เพราะอะไร ? การที่จะยึดหรือไม่ยึดนั้น ไม่ได้หมายความว่าเรารู้เราเข้าใจแล้วเราจะ ไม่ยึด แต่การ “ได้เห็น” ต่างหาก การได้เห็นด้วยสติด้วยปัญญาของเรา จริง ๆ เห็นถึงสัจธรรมข้อนี้จริง ๆ ทุกขณะที่เห็นถึงความเป็นคนละส่วน นั่นคือการคลาย คลาย... คลายอุปาทาน เมื่อมีผัสสะอย่างใดอย่างหนึ่ง เกิดขึ้น กระทบขึ้นมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แล้วมีสติกาหนดรู้ชัด ถึงความเป็นคนละส่วน เป็นคนละส่วน เป็นคนละส่วน คนละขณะกัน... จิตจะคลายจากอุปาทาน หรือจิตจะไม่มีอุปาทานเข้าไปยึด


































































































   96   97   98   99   100