Page 90 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาหัวข้อธรรม
P. 90

950
อีกอย่างหนึ่งในช่วงนี้ เพื่อการชาระสะสางอารมณ์ หรือทบทวนเรื่องราวต่าง ๆ ที่ผ่านมาในชีวิตของ เรา ในช่วงปีที่ผ่านมา ตลอดปีที่ผ่านมา ว่าเราได้ทาอะไรที่ดีที่ไม่ดี ที่เกิดขึ้นกับชีวิตของเรา การที่จะทบทวน อารมณ์ เรื่องราวต่าง ๆ ให้ชัดเจน ก็ต้องทาจิต...ทาจิตให้สงบ จัดระเบียบของจิตของเรา ทาจิตของเราให้ มีความสงบ เป็นระเบียบ เวลาคิด...ความคิดที่เป็นระเบียบ จะทาให้เราทบทวนเรื่องราวต่าง ๆ ได้ชัดเจน และทา ใหเ้ ราเขา้ ใจเรอื่ งราว ทเี่ กดิ ขนึ้ ในชวี ติ ของเราไดช้ ดั เจนวา่ สงิ่ ไหนควรปรบั ปรงุ ควรเปลยี่ นแปลง หรอื ควรพัฒนาต่อไป อันนี้เป็นสิ่งสาคัญ
แต่ที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เป้าหมายของการเจริญวิปัสสนากรามฐาน อย่างที่เราสมาทาน กรรมฐาน นั่นคือเป้าหมายสูงสุดของการปฏิบัติธรรม คือมรรคผลนิพพาน อันนี้เป็นหลักสาคัญ ทีนี้พอ พูดถึงการปฏิบัติ หลัก...เป้าหมายสูงสุดตรงนี้ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานนั้น ตามหลักแล้ว เราจะพูดถึง หลักใหญ่ ๆ ทบทวน...ทบทวนแนวทาง หรือหลักการที่เราต้องปฏิบัติ ในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ใน หลักสติปัฏฐาน ๔ ในแนวทางสติปัฏฐาน ๔ คือมีอารมณ์หลักทั้ง ๔ อย่างเป็นตัวตั้ง ในการเจริญสติ สมาธิ ปัญญา
ในการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา ๔ อย่างนั้นประกอบด้วยอะไร นี่คืออารมณ์หลัก ๔ อย่างที่ผู้ปฏิบัติจะ ต้องใส่ใจ เข้าไปกาหนดรู้อยู่เนือง ๆ อย่างต่อเนื่อง หนึ่ง ก็คืออาการทางกาย อาการทางกายที่ปรากฏเกิด ขึ้นมา และเมื่อมีสติเข้าไปตามกาหนดรู้ อาการทางกายที่ปรากฏเกิดขึ้น รู้ถึงความเปลี่ยนไป รู้ถึงความเป็น อนิจจัง รู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ของอาการทางกาย อันนี้เรียกว่ากายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
สติปัฏฐาน ๔ ที่เรียกว่า มีอารมณ์ ๔ อย่าง ดูกาย เวทนา จิต ธรรม เพราะฉะนั้นเมื่อไหร่ก็ตาม ที่ ผปู้ ฏบิ ตั มิ เี จตนาทจี่ ะตามรอู้ าการทางกาย เรมิ่ ตงั้ แตต่ ามกา หนดรอู้ าการของลมหายใจเขา้ ออก ตามรอู้ าการ พองยุบ ตามรู้อาการเต้นของหัวใจ ตามรู้อาการ ความเย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง ที่เกิดขึ้นตามร่างกาย อันนี้เขาเรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เมื่อมีอารมณ์หรือมีอาการเหล่านี้เกิดขึ้น แล้วมีเจตนาที่จะเข้าไป ตามกาหนดรู้ ถึงอาการนั้น ๆ ว่ามีการเปลี่ยนแปลง มีการเกิดดับอย่างไร ตรงนี้เขาเรียกว่า กายานุปัสสนา- สติปัฏฐาน อันนี้เขาเรียก เป็นการกาหนดรู้อาการทางกาย...เป็นอารมณ์หลัก
ซึ่งเป็นเรื่องปกติของคนเรา ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถไหนก็ตาม จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน อาการ ทางกายอย่างใดอย่างหนึ่งจะปรากฏเกิดขึ้น ถ้าเราสนใจหรือใส่ใจ ก็จะเห็นว่า ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถยืน เดิน นั่ง นอน หรือกิน ดื่ม ทา พูด คิด เหล่านี้ อาการทางกายก็ปรากฏขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็น เรื่องธรรมดา เป็นเรื่องปกติ เพราะฉะนั้น การที่จะเรียกว่าเป็นวิปัสสนา เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนานั้นเป็น อย่างไร เมื่อไหร่ก็ตาม ที่มีเจตนาเข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับของอารมณ์ ของอาการทางกายที่ปรากฏเกิด ขึ้นมา เมื่อนั้นเรียกว่า เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา เพื่อพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์
อาการพระไตรลักษณ์ อนิจจลักษณะ อาการพระไตรลักษณ์ คือลักษณะของอารมณ์ที่เกิดขึ้น ที่ เสมอกันแก่สังขารทั้งปวง คือ อนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ และอนัตตลักษณะ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญ ในการ พิจารณา ในการปฏิบัติ เพราะฉะนั้นเริ่มต้น เวลาเรานั่งกรรมฐาน เจริญกรรมฐาน เบื้องต้นจึงให้พิจารณา


































































































   88   89   90   91   92