Page 23 - _กล่องนม ok ปก02
P. 23

บูรณาการ
วทยาศาสตร
ชนดิ ความหนาแนน สงู :เนอ่ื งจากเปน พลาสตกิ ทท่ี นทานตอ สารทําละลายตา งๆทําใหม ีการนํา ไปใชท ําผลติ ภณั ฑจ ํานวนมากเชน
• ภาชนะบรรจต า ง ๆ เชน ทปั เปอรแ วร
ขวดน้ํายาซักผา ขวดนม ถังน้ํามันสําหรับ
ยานพาหนะ
• โตะ และเกา อแ้ี บบพบั ได
• ถงุ พลาสตกิ
• ภาชนะใสส ารเคมบี างชนดิ
• ทอ ทนสารเคมี
• ทอ ทใ่ี ชในระบบแลกเปลย่ี นความรอ น
• ทอ ขนสง กา ซธรรมชาติ
• ทอ นํา้
สารพษ ทร่ี ะบายออกสบู รรยากาศ ในกระบวนการผลิตและรไซเคิล โพลีเอทิลีน
สารเคมอี นั ตรายจํานวนมากถกู นํามาใช ในกระบวนการผลติ โพลเี อทลิ นี ไดแ ก เบนซนี โครเมยี มออกไซด ควิ มนี ไฮเปอรอ อกไซด เทอร- บวิ ทลิ โฮโดรเพอรอ อกไซด และเอทลิ นี ซง่ึ สารตง้ั ทต่ี น ตวั สําคญั
เบนซีน ใชเปนสารทําละลายในการผลิต โพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ํา การสูดดม เบนซีนมีผลกระทบตอระบบประสาทสวนกลาง และอาจทําใหเกิดอาการปวดหัว เหนื่อยลา นอนไมหลับ และคลื่นไส เปนตน
บิวทิล โฮโดรเพอรออกไซด ใชเปนสาร ที่ทําใหโพลีเอทิลีนความหนาแนนต่ําชนิดสาย เปนเสนตรงเกิดการจับตัวเปนโพลีเมอร การไดรับสัมผัสสารนี้อาจทําใหเกิดอาการ ผดิ ปกตขิ น้ ไดเ ชน เกดิ ลกั ษณะไหมท ผ่ี วิ ไอ จาม หายในสั้น ปวดหัว คลื่นไส และอาเจียน และมี ผลการทดลองในสัตวที่ชี้บงวาสารนี้กอใหเกิด การกลายพันธุ
ควิ มนี ไฮโดรเพอรอ อกไซด ใชในกระบวน การจับตัวเปนโพลีเมอรของโพลีเอทิลีนชนิด ความหนาแนนต่ํา สารนี้จะแสดงอันตราย เฉียบพลันหากกลืนกินเขาไป หายใจเขาไป หรอซึมผานผิวหนัง
17


































































































   21   22   23   24   25