Page 14 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 14
คณะรัฐศาสตร์ได้จัดการเรียนการสอนท่ีศูนย์ลาปางอย่างต่อเน่ือง และยังมีอีกหลายหน่วยงานในมหาวิทยาลัยท่ีแสดงความสนใจ กับกิจกรรมบริการวิชาการแก่สังคมในลักษณะเช่นการอบรมระยะสั้น การใหค้ าแนะนา ใหค้ า ปรกึ ษา การสมั มนารวมถงึ การจดั ต้ังห้องสมุดท่ีได้มาตรฐานด้วย ถือเป็นความสาเร็จของมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ร่วมกับผู้ท่ีมีส่วนผลักดันให้มหาวิทยาลัย ท่ีได้ ขยายโอกาสทางการศึกษาในวงกว้างออกไปสู่ภูมิภาคอีกก้าวหน่ึง
เปิดการเรียนการสอนอย่างเป็นทางการของธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง
การจัดการเรียนการสอนในปีแรกนั้น เน่ืองจากต้องมีการเตรียมความพร้อมด้านสถานท่ีและอาจารย์ผู้สอน มหาวิทยาลัย จงึ จดั การใหน้ กั ศกึ ษาไดเ้ รยี นทศี่ นู ยร์ งั สติ กอ่ น และยา้ ยกลบั มาเรยี นทศ่ี นู ยล์ า ปางในปกี ารศกึ ษา ๒๕๔๒ โดยคณะสงั คมสงเคราะห์ ศาสตร์ได้รับสมัครและจัดการสอบคัดเลือกนักศึกษาโดยวิธีการคัดเลือกตรงไม่ผ่านทบวง ด้วยการกาหนดรับเฉพาะนักเรียนจาก ภาคเหนือท้ังหมด การสอบคัดเลือกนี้ได้ใช้ข้อสอบของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นร่วมกับแบบทดสอบความถนัดทาง วชิ าการของมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ในสว่ นของการเรยี นการสอนนนั้ มหาวทิ ยาลยั ไดค้ า นงึ ถงึ คณุ ภาพของการเรยี นการสอน ที่ต้องเท่าเทียมกัน จึงได้จัดหาอาจารย์ผู้บรรยายไว้ ๓ ประเภท คือ (๑) อาจารย์ประจาของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ (จากท่าพระจันทร์และศูนย์รังสิตเดินทางมาบรรยายด้วยตัวเอง) (๒) อาจารย์ประจาของโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง (๓) อาจารย์ และวิทยากรพิเศษจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ในปีต่อมามหาวิทยาลัยยังได้เปิดหลักสูตรใหม่เพิ่มอีก ๑ สาขา คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสหวิทยาการ สงั คมศาสตร์ วทิ ยาลยั สหวทิ ยาการ เปน็ หลกั สตู รทมี่ ลี กั ษณะบรู ณาการความรดู้ า้ นสงั คมวทิ ยา มานษุ ยวทิ ยา รฐั ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ โดยหลกั สตู รนใี้ นชว่ งเวลา แรกเรมิ่ รบั นกั ศกึ ษาโดยพจิ ารณาจากผลการสอบคดั เลอื กเขา้ ศกึ ษาตอ่ ของทบวงมหาวทิ ยาลยั ประกอบ กับผลการทดสอบความสามารถในการวิเคราะห์และสรุปเหตุผลความถนัดทางด้านสังคมศาสตร์ และจากการสอบสัมภาษณ์
สา หรบั วธิ กี ารจดั การศกึ ษาธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า ปาง พยายามรกั ษาหลกั การจดั การเรยี นการสอนตามนโยบายขยายโอกาส อุดมศึกษาที่ประกาศไว้ตั้งแต่ครั้งคุณบุญชูทาหน้าที่รัฐมนตรีทบวงมหาวิทยาลัย นั้นคือการรักษาคุณภาพวิชาการของวิทยาเขตไม่ ใหต้า่กวา่และตอ้งเทา่กบัมหาวทิยาลยัตน้แบบดว้ยวธิกีารสอนแบบสอื่สารทางไกลและอาศยัอาจารยผ์สู้อนหลงัจากมหาวทิยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต และท่าพระจันทร์ ทาให้คณาจารย์จากคณะต่าง ๆ เดินทางขึ้นไปบรรยายและจัดการเรียนการสอนร่วม กบั อาจารยป์ ระจา สว่ นหนงึ่ ทมี่ หาวทิ ยาลยั เปน็ ผคู้ ดั เลอื กบรรจเุ ปน็ อาจารยป์ ระจา ทน่ี นั่ ซงึ่ ในแงข่ องการเรยี นการสอน มหาวทิ ยาลยั ไม่ได้ละเลยในเรื่องของคุณภาพ นั่นคือหลักการว่า ธรรมศาสตร์ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนจาเป็นต้องมีการเรียนการสอนที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน ซึ่งถือเป็นเป้าหมายสาคัญที่ไม่ต้องการให้มหาวิทยาลัยมีจานวนมากจนลืมคานึงถึงคุณภาพ
ในขณะทสี่ ถานทจี่ ดั การเรยี นการสอนนนั้ นบั ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๐ กอ่ นทจี่ ะไดร้ บั การบรจิ าคทดี่ นิ จนสามารถจดั สร้างอาคาร เรียนถาวรอย่างเป็นทางการได้นั้น กระทรวงมหาดไทย โดยปลัดกระทรวงมีหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดลาปางเวลานั้นอนุมัติให้ มหาวทิ ยาลยั ใหอ้ าคารศาลากลางหลงั เดมิ เปน็ ทจี่ ดั การเรยี นการสอน ระยะแรกของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า ปาง รวมถงึ เปน็ ศนู ยก์ ารบรหิ ารจดั การศกึ ษา ในระยะแรกกอ่ ตงั้ ทงั้ นผี้ วู้ า่ ราชการจงั หวดั ลา ปางไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการประสานงาน การขยาย วทิ ยาเขตขนึ้ ทจ่ี งั หวดั ลา ปาง เพอื่ ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ประสานงานและอา นวยความสะดวกในการบรหิ ารจดั การของมหาวทิ ยาลยั ดว้ ย เช่นกัน เมื่อสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้มีมติอนุมัติและให้ดาเนินโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ใน การประชุมสภามหาวิทยาลัยนั้น เป็นการยืนยันสถานะของเขตการศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัยต้องการให้เป็น ศูนย์ลาปางแทนที่ จะเป็นวิทยาเขตสารสนเทศในลักษณะที่มหาวิทยาลัยอื่นดาเนินการอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อทาให้ศูนย์ลาปางมีสถานภาพ เป็นเอกภาพและเป็นส่วนหนึ่งของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
๔