Page 21 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 21

 มหาวิทยาลัยจึงมีความจาเป็นต้องมีสถานที่รองรับการเรียนการสอนเพิ่มด้วยงบประมาณก่อสร้างรวมระบบสาธารณูปโภค ๑๕๘,๐๐๐,๐๐๐ บาท เป็นงบผูกพัน ๓ ปีต่อเนื่องจากปี ๒๕๔๙ ถึง ๒๕๕๑ เป็นอาคารสูง ๕ ชั้น
เมื่อเริ่มต้นการก่อสร้างอาคารเรียนรวม ๕ ชั้นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์ลาปางก็ได้รับพระกรุณาจากสมเด็จ พระเทพพระรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนินยังศูนย์ลาปางเป็นครั้งที่ ๒ และทรง เปิดอาคารสิรินธรารัตน์อย่างเป็นทางการ และทรงวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนรวม ๕ ชั้นแห่งใหม่ในวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๘ ในการนี้อธิการบดี รองอธิการบดี ศูนย์ลาปาง คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย คณาจารย์เจ้าหน้าที่ และนักศึกษาเฝ้ารับ เสด็จ และได้มีการเบิกตัวผู้มีอุปการะคุณต่อ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทรับพระราชทานโล่ ประกาศเกียรติคุณ
ในปเี ดยี วกนั นเี้ องทศี่ นู ยล์ า ปางไดเ้ ปดิ หลกั สตู รวชิ าคณะศลิ ปกรรมศาสตรใ์ นสาขาวชิ าศลิ ปะการออกแบบหตั ถอตุ สาหกรรม ซึ่งเป็นสาขาสัมพันธ์กับการฟื้นฟูและเติบโตของอุตสาหกรรมพื้นบ้านท้องถิ่นลาปางอย่างยิ่ง
ในระหว่างการก่อสร้างอาคารเรียนรวม ๕ ชั้นหลังใหม่นั้นศูนย์ลาปางได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณจังหวัดลาปาง และงบพิเศษของมหาวิทยาลัยจัดสร้างอาคารเรียนรวม ๔ ชั้นอีกแห่งหนึ่งและสามารถสร้างได้เสร็จในปี ๒๕๕๐ ก่อนอาคารเรียน รวม ๕ ชั้นทาให้อาคารเรียนรวม ๔ ชั้นกลายเป็นอาคารหลังที่สองของศูนย์ลาปาง ซึ่งถือเป็นอาคารที่แสดงถึงความร่วมมือ ร่วมใจจากท้องถิ่นอีกวาระหนึ่ง
อาคารเรียนรวม ๕ ชั้น สร้างเสร็จในปี ๒๕๕๒ เป็นอาคารสูง ๕ ชั้นใช้เป็นอาคารที่ทาการสานักงานและหน่วยงานของ มหาวิทยาลัย ในขณะที่ชั้น ๒-๕ เป็นห้องบรรยายชั้น ๓ และชั้น ๔ เป็นห้องพักอาจารย์
อาคารเรียนรวมทั้งอาคาร ๔ ชั้นและอาคาร ๕ ชั้นได้รับการออกแบบหันหน้าเข้าอาคารสิรินธรารัตน์ซึ่งทาหน้าที่อาคาร ศูนย์กลางในวงกลม พื้นที่ด้านหน้าอาคาร ๕ ชั้นขวามือตกแต่งเป็นลานโพธิ์เพื่อราลึกถึงลานโพธิ์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
๑๑




























































































   19   20   21   22   23