Page 25 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 25
ห้องสมุดบุญชู ตรีทอง
เมื่อปี ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดตั้งห้องสมุดมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์จัดตั้งพร้อมกับโครงการจัด ตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง โดยมหาวิทยาลัยฯ ใช้อาคารศาลากลางหลังเดิมของจังหวัดลาปาง เป็นสถานที่ จัดการเรียนการสอนและการบริหารห้องสมุด ซึ่งมีหนังสือเพียงเล็กน้อย ต่อมา ปี ๒๕๔๖ เมื่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ย้าย มาอยู่ห้างฉัตร ห้องสมุดจึงได้ย้ายมายังชั้น ๑ อาคารสิรินธรารัตน์
หลงั จากทคี่ ณุ บญุ ชู ตรที อง ไดบ้ รจิ าคทดี่ นิ เพอื่ กอ่ สรา้ งสถานทตี่ งั้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า ปาง และบรจิ าคทนุ ทรัพย์การสร้างอาคารสิรินธรารัตน์แล้ว ยังได้มีการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดาเนินการออกแบบ รวมถึงเข้ามาช่วยควบคุมการ ก่อสร้างอาคารให้มีหน้าที่ใช้สอยอย่างลงตัวและสะดวกสบาย คุณบุญชูได้มีนโยบายที่เล็งเห็นถึงรายละเอียดข้อจากัดของการก่อ ตั้งมหาวิทยาลัยที่มีวิทยาเขตอยู่ในภูมิภาคเป็นประเด็นสาคัญมาอย่างต่อเนื่อง คือ ปัญหาการเข้าถึงทรัพยากรทางความรู้ของ นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง จึงได้บริจาคเงินเพิ่มเติมสนับสนุนให้กับห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง จานวน ๒ ล้านบาท ในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินการจัดซื้อและ พฒั นาหอ้ งสมดุ ใหข้ อ้ มลู มคี วามทนั สมยั เปน็ ปจั จบุ นั และมกี ารใชเ้ ครอื่ งมืออิเล็กทรอนิกส์มากข้ึน จึงพัฒนาห้องสมุดให้เป็น E - Library แบบเต็มรูปแบบ เป็นการใช้เทคโนโลยีกับข้อมูลที่มีความทันสมัยซึ่งมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาของนักศึกษา ที่ห่างไกลจากศูนย์กลางแหล่งข้อมูล และต้องการส่งเสริมให้ห้องสมุดเป็นแหล่งความรู้ที่นักศึกษาสามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ ได้อย่างเต็มที่
ด้วยเหตุนี้เพื่อให้มีสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ถึงการสนับสนุนของคุณบุญชู ที่ให้กับศูนย์ลาปางมาโดยตลอดมหาวิทยาลัย จึงได้ ทาเรื่องขออนุมัติต่อสภามหาวิทยาลัย ซึ่งมีมติในที่ประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๓ ให้ตั้งชื่อห้องสมุดที่ ศูนย์ลาปางว่า “ห้องสมุดบุญชู ตรีทอง” ถือว่าเป็นการให้เกียรติกับผู้ที่ทาคุณประโยชน์ ให้การสนับสนุนและเป็นผู้เริ่มต้นผลักดัน ให้เกิดเป็น Campus หรือว่าวิทยาเขตมหาวิทยาลัย ที่ศูนย์ลาปาง ให้สมบูรณ์แบบมากขึ้น ถือเป็นครั้งแรกที่ตั้งชื่อห้องสมุดตาม ชื่อคนที่มีชีวิตร่วมอยู่ในยุคสมัย และมีความเหมาะสมกับภาพลักษณ์คุณบุญชูเองที่ให้ความสาคัญกับระบบเทคโนโลยีการสื่อสาร สมัยใหม่ ห้องสมุดบุญชู ตรีทอง ซึ่งเป็นห้องสมุดประจามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ได้มีการปรับปรุง ขยายพื้นที่ให้ บริการขึ้นไปที่ชั้น ๒ ของอาคารสิรินธรารัตน์ หลังจากที่คุณบุญชู ตรีทอง ได้บริจาคเงินสนับสนุน จานวน ๒ ล้านบาทให้แก่ห้อง สมุดบุญชู ตรีทอง เพื่อพัฒนาให้เป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E - library) ซึ่งสามารถเชื่อมโยงระบบข้อมูลสารสนเทศทั้งในและ นอกมหาวิทยาลัยร่วมกัน
ต่อมาห้องสมุดจึงได้จัดทาโครงการขึ้นทั้งหมด ๔ โครงการ คือ โครงการจัดซื้อ e – audiobook และ e – reference book โครงการจัดทา e – reserve book, entertainment zone และหอจดหมายเหตุออนไลน์ นอกจากนี้ยังมีบริการสืบค้น ข้อมูลห้องสมุด โดยมีบริการยืม - คืนหนังสือโดยใช้ระบบออนไลน์เดียวกันกับห้องสมุดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อีกทั้ง ๒ ศูนย์ คอื หอสมดุ ปรดี ี พนมยงค์ หอสมดุ ปว๋ ย องึ๊ ภากรณ์ และหอ้ งสมดุ ตามคณะตา่ งๆ และไดร้ บั บรจิ าคเพมิ่ เตมิ จากคณุ บญุ ชอู กี ๑๐ ลา้ น บาท ในวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐
อยา่ งไรกต็ ามมขี อ้ มลู วา่ นกั ศกึ ษาจากศนู ยท์ า่ พระจนั ทรแ์ ละศนู ยร์ งั สติ มกั จะยืมหนังสือจากห้องสมุดบุญชู ตรีทองมากกว่า นักศึกษาจากศูนย์ลาปางยืมหนังสือจากหอสมุดหลักของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความหมายว่าระบบฐานข้อมูลสมบูรณ์ การพัฒนาเป็น ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E - library) ห้องสมุดดิจิตอลทาให้ห้องสมุดบุญชู ตรีทอง กลายเป็นห้องสมุดที่มีความทันสมัยในจังหวัด ลาปาง และที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งในภาคเหนือ (ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ กล่าวใน พิธีลงนามบันทึกข้อตกลง การสนับสนุน การจดั การศกึ ษาทมี่ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรศ์ นู ยล์ า ปางระหวา่ งคณุ บญุ ชูตรที องกบั มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์วนั ที่๘กรกฎาคม๒๕๕๙)
๑๕