Page 15 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 15

 การย้ายที่ตั้งจากศาลากลางหลังเก่ามาอยู่ที่ห้างฉัตร
เม่ือคณะรัฐมนตรีได้มีมติให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ดาเนินการขยายวิทยาเขตมายังจังหวัดลาปางใน พ.ศ. ๒๕๓๙ ทางจงั หวดั ลา ปางและมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรจ์ งึ ไดท้ า การจดั หาพนื้ ทเี่ พอื่ รองรบั การจดั ตงั้ วทิ ยาเขต โดยเรมิ่ แรกมหาวทิ ยาลยั ได้ รบั ความอนเุ คราะหจ์ ากกระทรวงมหาดไทยใหใ้ ชพ้ นื้ ทขี่ องศาลาประชาคม จงั หวดั ลา ปาง (ศาลากลางหลงั เดมิ ) เปน็ สา นกั งาน และ เป็นสถานที่สาหรับการเรียนการสอนการชั่วคราวไปก่อน โดยได้ปรับปรุงสถานที่ดังกล่าวให้มีความเกื้อหนุนต่อการเรียนการสอน คือ ห้องบรรยาย ๖ ห้อง ซึ่ง ๒ ห้อง ได้ติดตั้งระบบโสตทัศนูปกรณ์มัลติมีเดีย ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ๑ ห้อง และห้องสมุด
แม้ว่าศาลาประชาคมที่มหาวิทยาลัยได้รับอนุญาตให้ใช้เป็นสถานที่สาหรับการเรียนการสอน แต่มหาวิทยาลัยก็ยังจาเป็น ตอ้ งมสี ถานทจี่ ดั ตงั้ มหาวทิ ยาลยั ทเี่ ปน็ หลกั แหลง่ และสามารถรองรบั การขยายตวั ของนกั ศกึ ษาและคณะทเี่ พมิ่ ขนึ้ ได้ มหาวทิ ยาลยั จึงได้พยายามติดต่อประสานงานกับหน่วยงานราชการต่าง ๆ เพื่อขอใช้พื้นที่จัดตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง เป็นที่จัด สร้างอาคารเรียนถาวรไม่ว่าจะเป็นการขอใช้พื้นที่ป่าแม่ยาว อาเภอห้างฉัตร หรือ ที่ดินของโรงงานน้าตาลลาปาง อาเภอเกาะคา เป็นต้น
อย่างไรก็ตามความพยายามดังกล่าวนั้นไม่ประสบผลสาเร็จเนื่องจากมีข้อติดขัดทางราชการหลายประการ ในที่สุด คุณบุญชู ตรีทอง จึงได้มีดาริบริจาคที่ดินให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อจัดตั้งศูนย์ลาปางจานวน ๓๑๔ ไร่ ๙๑.๖ ตารางวา โดยในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๑ ได้มีการรับมอบที่ดินซึ่งนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ในฐานะกรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั เปน็ ประธานในพธิ รี บั มอบทดี่ นิ จากคณุ บญุ ชู ตรที อง โดยมศี าสตราจารยน์ รนติ ิ เศรษฐบตุ ร อธกิ ารบดใี นขณะนนั้ เปน็ ผู้รับมอบ ณ อาคารอเนกประสงค์บุญชู ตรีทอง โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลาปาง (จุลสารธรรมศาสตร์ ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๗ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๑)
นอกจากนี้แล้วในขณะนั้นคุณบุญชู ยังยินดีที่จะดาเนินการก่อสร้างอาคารเรียนรวมให้กับมหาวิทยาลัย จานวน ๑ หลัง ในเบื้องต้น โดยมหาวิทยาลัยเป็นผู้ดาเนินการประกาศเชิญชวนเพื่อจัดหาบริษัทผู้รับเหมามาดาเนินการก่อสร้างอาคารเรียนรวม ด้วยงบประมาณ ๖๒,๐๒๗,๗๕๖ บาท (หกสิบสองล้านสองหมื่นเจ็ดพันเจ็ดร้อยห้าสิบหกบาท) (วารุณี โอสถารมย์, บก ๒๕๕๘: ๓๔๕) และเนื่องด้วยธรรมศาสตร์แห่งนี้เป็นสถานศึกษาที่ประชาคมชาวจังหวัดลา ปางได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดตั้งด้วยตั้งแต่ แรกเริ่ม ดังนั้นแล้วเมื่อถึงเวลาที่จะต้องลงหลักปักฐานจึงเกิดความเห็นจากหลายฝ่ายที่ไม่ตรงกัน แต่ที่ดินที่เกาะคาเป็นที่ราชพัสดุ มหี ลายหนว่ ยงานเตรยี มจะไปใชท้ ดี่ นิ นนั้ ดว้ ย สว่ นทดี่ นิ บรจิ าคของคณุ บญุ ชนู นั้ เจา้ ของทดี่ นิ มคี วามประสงคท์ จี่ ะสรา้ งอาคารเรยี น หลังแรกรวมถึงการสนับสนุนบรรยากาศการเรียนการสอนด้วยการพัฒนาระบบห้องสมุดให้สมบูรณ์รวมถึงการออกแบบอาคาร เรียนรวม ดังนั้นผู้บริหารมหาวิทยาลัย ตัดสินใจเลือกที่ตั้งถาวรที่ห้างฉัตร
 ๕





























































































   13   14   15   16   17