Page 33 - บันทึก 25 ปีธรรมศาสตร์ลำปาง
P. 33
การศึกษา การสร้างองค์ความรู้ และการให้บริการทางวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมแก่สังคม โดยเสนอขออนุมัติบรรจุโครงการจัด ตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ในแผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ ๗ (๒๕๓๕- ๒๕๓๙) ของทบวงมหาวิทยาลัย โดยยก ฐานะสาขาวิชาการละคอน ในคณะศิลปศาสตร์ ขึ้นเป็นโครงการจัดตั้ง ซึ่งทบวงมหาวิทยาลัยเห็นชอบให้บรรจุโครงการจัดตั้ง คณะศิลปกรรมศาสตร์เป็น โครงการใหม่ไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ ๗ (๒๕๓๕-๒๕๓๙)
ดว้ ยเหตผุ ลทคี่ ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ จะมลี กั ษณะทเี่ ปน็ เอกลกั ษณแ์ ตกตา่ งจาก คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ของสถาบันอื่นๆ และคานึงถึง ทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม รวมทั้งการเรียน ทางด้านการบริหารธุรกิจ และทางตลาด ซึ่ง เป็นสิ่งที่ขาดอย่างมาก ในวงการศิลปะในด้านศาสตร์ต่างๆดังนี้
๑. การพัฒนาศิลปะให้สอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศ ๒. การพัฒนาชุมชน โดยเฉพาะชุมชนที่ด้อยโอกาส
๓. การพัฒนาท้องถิ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
๔. การพัฒนาศิลปะให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม
๕. การพัฒนาจิตใจและจิตสานึกในหน้าที่ของศิลปินในการพัฒนาสังคมและบริการประชาชนในด้านที่เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ขอเสนอโครงการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ต่อสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เพื่อพิจารณา ในคราวประชุม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๔๔ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ได้พิจารณาแล้วมีมติให้จัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ซึ่งเป็น หนว่ ยงานภายในของมหาวทิ ยาลยั ทมี่ กี ารบรหิ ารงานทเี่ ปน็ อสิ ระและมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมภี ารกจิ หลกั คอื การจดั การศกึ ษา การวจิ ยั การบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ตลอดทั้งให้บริการแก่สังคม ต่อมาในปี ๒๕๔๗ สภามหาวิทยาลัยในการ ประชมุ ครงั้ ที่ ๑๔/๒๕๔๗ เมอื่ วนั จนั ทรท์ ี่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๔๗ อนมุ ตั ใิ หค้ ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ เปดิ สอนหลกั สตู รศลิ ปกรรมศาสตร์ บัณฑิตสาขาวิชาออกแบบหัตถอุตสาหกรรม ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง ในปีการศึกษา ๒๕๔๘ เปิดรับนักศึกษารุ่น แรก โดยมุ่งเน้นกลุ่มเป้าหมายที่มีภูมิลาเนาหรือเป็นนักเรียนในเขตภาคเหนือตอนบน ๘ จังหวัด
๔. คณะนิติศาสตร์
สบื เนอื่ งจากจา นวนผสู้ นใจเรยี นวชิ ากฎหมายทเ่ี พมิ่ ขนึ้ เรอื่ ยๆ ซงึ่ ศนู ยก์ ลางของการศกึ ษารวมอยทู่ ม่ี หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต แต่คณะนิติศาสตร์ไม่สามารถรับผู้ที่สนใจจะศึกษาไว้จานวนมากได้ จึงมีนโยบายขยายการศึกษาไปยังส่วนภูมิภาคเพื่อ เผยแพร่วิชากฎหมาย ดังนี้ในปี ๒๕๕๑ คณะนิติศาสตร์ได้เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ ศูนย์ลาปาง เป็นโครงการนาร่องสาหรับการจัดการศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ
ตอ่ มาในปี ๒๕๕๒ คณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ศนู ยล์ า ปาง ไดข้ ยายโอกาสทางการศกึ ษาวชิ านติ ศิ าสตรไ์ ป ยังภาคเหนือโดยเปิดหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ) เพื่อรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จาก ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ ของประเทศไทยเข้าศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โดยแบ่งการเข้ารับคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาต่อใน ๒ แนวทาง คือ การสมัคร นักเรียนเข้าศึกษาต่อคัดเลือกโดยตรง ซึ่งรับสมัครนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ที่อยู่ในเขตพื้นที่ ๑๗ จังหวัดภาคเหนือ และ ระบบการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษาต่อโดยระบบส่วนกลาง รวมทั้งสิ้นจานวนนักศึกษาที่เปิดรับ ๒๐๐ คน
ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จานวนนักศึกษารวมทั้งสิ้น ๗๘๔ คน เปิดครบทั้ง ๔ ชั้นปี คณะนิติศาสตร์ มีห้องอ่านหนังสือ คณะนติ ศิ าสตร์ เปน็ สวสั ดกิ ารสา หรบั นกั ศกึ ษาใชส้ า หรบั การอา่ นหนงั สอื คน้ หาขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ หอ้ งศาลจา ลอง สา หรบั ใหน้ กั ศกึ ษา ฝกึ ปฏบิ ตั วิ ธิ พี จิ ารณาคดตี ามเนอื้ หาการศกึ ษาตามหลกั สตู รนิติศาสตรบัณฑิต และฝึกวิชาชีพนักกฎหมายและห้องพักอาจารย์ ประจาคณะนิติศาสตร์อยู่ชั้น ๔ ของอาคารเรียนรวม ๕ ชั้น
๒๓