Page 20 - นิตยสารธัมมวิโมกข์ ฉบับปฐมฤกษ์
P. 20
ู
ิ
ของเราหมดก็ดีดูจตใจหรือดูพระรปพระโฉมขององค์สมเด็จพระจอมไตร
ี
ี
ให้ใสสว่างจัด แล้วมอบหน้าท่ในการสอนเป็นหน้าท่ขององค์สมเด็จพระทรง
สวัสดีโสภาค
เวลานั้นเราจะมีความรู้สึกจุดหนึ่งว่าบางทีเราอาจจะคิดว่า การส่งสอน
ั
ี
้
ศิษย์ต้องสอนแบบนี แต่อารมณ์อย่างน้ก็ไม่ควรจะท�า เพราะว่าจะเป็นการ
ถือว่าเป็นเร่องของตนเอง ไม่ต้องกาหนดจิตไว้อย่างใดท้งหมดว่า เราจะ
�
ื
ั
สอนแบบไหน ก่อนจะไปมอบภาระหน้าท่น้ให้เป็นหน้าที่ขององค์สมเด็จพระ
ี
ี
ี
จอมไตรบรมศาสดา แล้วท่านจะสอนแบบไหนเป็นภาระของท่าน อันน้ก็ถ้า
ี
ทาได้จริงจะปรากฏอย่างน้ บางทีก่อนจะสอนเราอาจจะนึกว่าเราควรจะสอน
�
นิตยสารธัมมวิโมกข์
่
้
่
ั
แบบนีๆ แต่ว่าเวลาทีเราจะเริมสอนเข้าจริงๆ มนไม่ตรงกับอารมณ์ทเราคิดไว้
ี
่
ถ้าเป็นอย่างน้ก็จงอย่าฝืน เพราะน่นให้เป็นภาระหน้าท่ขององค์สมเด็จพระ
ั
ี
ี
สัมมาสัมพุทธเจ้าและอย่างนั้นศิษย์จะเข้าใจจะมีความเข้าใจดี
อีกประการหนึง เราให้เวลาลูกศิษย์ใช้เวลาน้อยมากเกินไป ใช้เวลา
่
�
เพียงแค่ 10 นาทีเศษๆ ในการรวบรวมกาลังใจ ตอนน้ท่านท้งหลายจงเข้าใจ
ั
ี
ว่าบางคนท่มาฝึกอาจจะชานาญ หรอเชี่ยวชาญ หรอว่าคล่องในด้านอืนมา
�
ื
่
ี
ื
ี
ื
ก่อน คอว่าการใช้ค�าภาวนาย่อมไม่เหมือนกัน น่เป็นเคร่องโต้เถียงในด้าน
ื
ื
ก�าลังใจ ในเม่อใช้ค�าภาวนาไม่เหมือนกัน กาลังใจมันก็จะแย่งค�าภาวนาเก่า
�
กับคาภาวนาใหม่จะแย่งกัน หมายความว่าจิตดวงหน่งจะภาวนาแบบนี แต่
ึ
้
�
ว่าอีกจุดหน่งของจิตมันก็คิดจะภาวนาแบบเก่า อารมณ์ของเขาจะต้องต่อสู้
ึ
กันการทรงก�าลังจิตที่เป็นสมาธิมันก็ไม่เกิด ถ้าอาการแบบน้เกิดขึ้น ถ้าเรา
ี
�
เข้าไปแนะนาศิษย์ ถ้าศิษย์ไม่สามารถจะทาจิตให้เข้าถึงจุดท่เราต้องการได้
�
ี
โดยการแนะนาเบ้องต้น ถ้าไม่เข้าใจให้ดูคาแนะนาของคณะสมุทรปราการต้น
�
�
ื
�
16