Page 15 - Moj planning Vol.2 2022
P. 15
7. เป้าหมายของโครงการ ( ✓ ) คงเดิม ( ) ปรับปรุง
โดยมีรายละเอียดดังนี้
7.1 เป้าหมายเชิงผลผลิต (Output)
สำานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถดำาเนินงานให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ตามภารกิจของกระทรวง
ู
ั
ั
ั
ั
ผ้ได้รบผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในจงหวดชายแดนภาคใต้และครอบครว จำานวน 6,506 คน
ี
ี
ื
ี
ได้รับการช่วยเหลือตามหลักเกณฑ์การช่วยเหลือฯ ตามมติ ครม. เม่อวันท่ 31 พฤษภาคม 2548 และมติ ครม. ท่เก่ยวข้อง
7.2 เป้าหมายเชิงผลลัพธ์ (Outcome)
ู
ั
ู
ื
ี
ั
ิ
ี
ื
ครอบครวของผ้ได้รบผลกระทบฯ ทได้รบการช่วยเหลอตามหลกเกณฑ์การช่วยเหลอฯ สามารถดารงชวตอย่ได้
ั
ั
่
ำ
ื
ตามอัตภาพ บุตรได้รับการศึกษาอย่างต่อเน่อง โดยมีหน่วยงานภาครัฐเข้าช่วยเหลือดูแล และแบ่งเบาภาระ
ิ
่
ุ
ี
ั
ู
้
ี
ั
้
ั
ำ
่
ี
้
ิ
่
้
ู
ั
ู
ของครอบครวในการดแลผทพการจากเหตความไมสงบ ทาใหครอบครวของผไดรบผลกระทบฯ มทศนคตทดตอภาครัฐ
ี
่
8. วิธีการด�าเนินการ ( ✓ ) คงเดิม ( ) ปรับปรุง
โดยมีรายละเอียดดังนี้
8.1 รับเรื่องจากศูนย์เยียวยาจังหวัดสำานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (สนง.พมจ.) จะตรวจสอบ
เอกสารหลักฐาน และจัดหน่วยเคลื่อนที่เยียวยาลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมเยียน รับฟังสภาพปัญหาและความต้องการเพิ่มเติม ตลอดจน
ให้คำาปรึกษาแนะนำาแก่ครอบครัวเรื่องสิทธิประโยชน์ และดำาเนินการให้ความช่วยเหลือตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
ช่วยเหลือเฉพาะหน้าแก่ครอบครัวผู้เสียชีวิต รายละ 6,000 บาท
ช่วยเหลือเฉพาะหน้าแก่ผู้บาดเจ็บทั่วไป รายละ 3,000 บาท
ช่วยเหลือเป็นเงินฟื้นฟูสมรรถภาพแก่ผู้บาดเจ็บสาหัส/พิการ รายละ 200,000 บาท
ช่วยเหลือเป็นเงินยังชีพรายเดือนแก่ผู้ที่พิการจากเหตุความไม่สงบฯ รายละ 1,000 - 3,000 บาท/เดือน
ั
ช่วยเหลือเงินยังชีพรายเดือนตามระดับการศึกษาจนจบช้นปริญญาตรี แก่บุตรของผู้เสียชีวิต บาดเจ็บสาหัส/พิการ
หรือเด็กที่บาดเจ็บสาหัส/พิการ รายละ 1,000 / 1,500 / 2,500 บาทต่อเดือน
ช่วยเหลือแบ่งเบาภาระของครอบครัวท่อุปการะเด็กท่ท้งบิดามารดาเสียชีวิตจากเหตุความไม่สงบฯ เป็นรายเดือน
ี
ี
ั
เดือนละ 2,000 บาท/เด็ก 1 คน หากอุปการะมากกว่า 2 คนขึ้นไป เหมาจ่ายเดือนละ 5,000 บาท/ครอบครัว
8.2 สนง.พมจ. ประสานการติดตามช่วยเหลือกรณีผู้ได้รับผลกระทบฯ ที่กลับภูมิลำาเนานอกพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ั
ี
ี
เป็นระยะผ่าน สนง.พมจ. ในจังหวัดน้น ๆ และประสานส่งต่อการช่วยเหลือกับหน่วยงานท่เก่ยวข้องภายในจังหวัด
เช่น โรงพยาบาล ศูนย์สุขภาพจิต ยุติธรรมจังหวัด ศูนย์เยียวยาจังหวัด เพื่อให้การช่วยเหลือครอบคลุมกับสภาพปัญหา
ื
ี
8.3 ส่งหน่วยเคล่อนท่เยียวยาออกเย่ยมบ้าน ให้คำาปรึกษาแนะนำาในเร่องสิทธิประโยชน์ พร้อมรับทราบปัญหาความต้องการ
ี
ื
เพื่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามดูแลครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบฯ อย่างต่อเนื่อง
8.4 ดำาเนินการจ่ายเงินยังชีพรายเดือนโดยโอนเงินเข้าบัญชีผู้ได้รับผลกระทบฯ/บุตรผ่านระบบ E-payment
8.5 ติดตามข้อมูลการเปลี่ยนแปลงระดับการศึกษา/สภาพความพิการ ในกรณีการจ่ายเงินยังชีพ รายเดือนบุตร/ผู้พิการ/
ครอบครัวอุปถัมภ์ เป็นประจำาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อพิจารณาให้การช่วยเหลือ ในปีถัดไป
ื
ำ
ิ
็
ู
้
ำ
ิ
8.6 รายงานผลการเบกจาย และขอมลเดกกาพรา-สตรหม้าย ใหสวนกลางเปนประจาทกเดอน เพอรวบรวมผลการดาเนน
้
่
ุ
ำ
่
ื
้
ี
็
่
งานรายงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
13