Page 56 - Moj planning Vol.2 2022
P. 56
การอำานวยความยุติธรรม อาจกล่าวได้ว่าคือ วิธีการ ขั้นตอน และกลไกในการสร้างความเป็นธรรม ซึ่งมีอยู่
หลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับว่าจะนำาไปใช้ในภารกิจด้านใด อาทิ ด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ด้านการแก้ไขฟื้นฟู
ผู้กระทำาความผิดและผู้เคยกระทำาความผิด ด้านการพัฒนางานสืบสวนสอบสวนและการดำาเนินคดี ด้านการช่วยเหลือ
ิ
เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ หรือด้านการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน จึงเห็นได้ว่าการอำานวยความยุติธรรมจึงมใช่
ั
หน้าท่ของเจ้าหน้าท่รัฐหรือผู้บังคับใช้กฎหมายเท่าน้น ดังน้น เพ่อเป็นการขจัดเง่อนไขปัญหาความหวาดระแวง
ื
ี
ี
ั
ื
ี
ระหว่างประชาชนกับภาครัฐตลอดจนความเส่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน ในพ้นท่ รวมถึงข้อเรียกร้องต่าง ๆ
ี
ื
ในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้หมดไป ซ่งเป็นไปตามเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของแผนปฏิบัติการ
ึ
ิ
ี
ด้านการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2566 - 2570 (ระยะท่ 2) จึงจำาเป็นต้องเพ่มประสิทธิภาพ
กระบวนการด้านการอำานวยความยุติธรรม กระบวนการด้านการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
ี
ั
ื
และด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ท้งน้ เพ่อขจัดปัญหาดังกล่าวออกไปอย่างจริงจังและถาวร ประชาชนมีความ
ื
เช่อม่นต่อกระบวนการด้านการอำานวยความยุติธรรมตามหลักสิทธิมนุษยชน รวมท้งผู้ได้รับผลกระทบได้รับการ
ั
ั
ช่วยเหลือเยียวยาทางร่างกายและจิตใจอย่างทั่วถึง
2. กรอบแนวคิดในการปฏิบัติ (กรอบแนวคิดที่ก�าหนดว่าการปฏิบัติดังกล่าวจะท�าอะไร ด้วยวิธีการอย่างไร เพื่อมุ่งผล
ตรงต่อใคร และเน้นป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาขึ้นอีกได้อย่างไร)
1.ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภากระบวนการ ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อกระบวนการ
ด้านการอำานวยความยุติธรรมที่สอดคล้อง ด้านการอำานวยความยุติธรรม
กับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมในพื้นที่ ตามหลักสิทธิมนุษยชน รวมทั้ง
2. ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการ ผู้ได้รับผลกระทบได้รับการช่วยเหลือ
ด้านการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ เยียวยาทางร่างกายและจิตใจอย่างทั่วถึง
ในพื้นที่
3.เสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการคุ้มครอง
สิทธิและเสรีภาพตามหลักสากลให้แก่
ประชาชน
ขจัดเงื่อนไขปัญหาความหวาดระแวง
ระหว่างประชาชนกับภาครัฐ
ข้อเรียกร้องต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต้หมดไป
54