Page 7 - E-Book ปู่เจ้าเล่ม 4
P. 7
“การแพทย์ฉุกเฉิน” เป็นหนึ่งในระบบบริการ
สาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชน ได้ถูกกำาหนดไว้
ในพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำาเนินงานและบริหาร
จัดการการแพทย์ฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
เทศบาลเมืองป่เจ้าสมิงพราย ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถ่น มีอานาจหน้าท ่ ี
ิ
ำ
ู
ตามกฎหมายในการจัดบริการสาธารณะ ท้งทางด้านสุขภาพ สาธารณสุข การป้องกันและบรรเทา
ั
สาธารณภัย รวมทั้งการดำาเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินในระดับ
ำ
ิ
ท้องถ่นตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน โดยคานึงถึงการเข้าถึงบริการ
ี
ื
ทางการแพทย์ได้อย่างรวดเร็วและถูกวิธ เพ่อลดอัตราการเสียชีวิต การสูญเสีย
ถึงขั้นพิการและภาวะทุพพลภาพจากอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ั
จึงได้จัดต้ง “หน่วยปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน (Emergency
Medical Service : EMS)” ขึ้น ณ เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย
โดยบูรณาการการดาเนินงานร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ำ
เทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย และสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน
(สพฉ.-1669) เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือประชาชนที่มีภาวะ
ื
ุ
ึ
ี
เจ็บป่วยฉุกเฉินหรือประสบอุบัติเหต ซ่งมีพ้นท่รับผิดชอบ
ี
ครอบคลุมท้ง 5 ตาบลภายในเขตเทศบาล และตามท่ศูนย ์
ำ
ั
ั
ส่งการ 1669 มอบหมาย เพ่อให้ผ้ป่วยได้รับการดูแลช่วยเหลือ
ื
ู
ปฐมพยาบาลเบ้องต้น และบริการส่งต่อผ้ป่วยไปยังสถานพยาบาล
ู
ื
ที่มีศักยภาพได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ
วารสารเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย 7