Page 4 - Annual 22 Basin of thailand
P. 4

¤íÒ¹íÒ











                                                                   ่
                                                                    ี
                           ่
                     การแบงลมน�้าในประเทศไทย ไดมีการพัฒนามาตลอดตั้งแตป 2506 ตามศักยภาพ
                                              ้
                             ุ่
                                                                          ั
                 ของเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ในขณะนั้น จนกระท่งในปี 2536
                                                  ็
                                                              ุ่
                 คณะกรรมการอุทกวิทยาแห่งชาติไดจัดท�าเปนมาตรฐาน 25 ลมน�้าหลักและ 254 ลมน�้าสาขา
                                           ้
                                                                              ุ่
                                      ี
                                                                                  �
                 ซึ่งบางลุ่มน�้าไม่สามารถท่จะบริหารจัดการน�้าได้อย่างเอกเทศ สืบเนื่องจากข้อจากัด
                               ี
                                      ี
                 จากข้อมูลในอดีตท่ใช้แผนท่มาตราส่วน 1 : 50,000 ในการแบ่งเขตลมน�้า แต่มิได้มีผลบังคับ
                                                                    ุ่
                                                                   ี
                 ทางกฎหมาย จึงส่งผลให้เกิดปัญหาในด้านการบริหารจัดการท่ขาดเอกภาพไม่ต่อเนื่อง
                                ็
                            ่
                                                 ่
                 เชื่อมโยงกันอยางเปนระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาวะวิกฤต ประกอบกับพระราชบัญญัติ
                 ทรัพยากรน�้า พ.ศ. 2561 หมวด 3 ส่วนที่ 3 มาตรา 25 “เพื่อประโยชน์ในการบริหาร
                                              ุ่
                 จัดการทรัพยากรน�้า ให้มีการก�าหนดลมน�้า โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ท้งนี้ให้ค�านึงถึง
                                                                           ั
                 สภาพอุทกวิทยา สภาพภูมิศาสตร์ ระบบนิเวศ การตั้งถิ่นฐาน การผังเมืองผังน�้าและ
                 เขตการปกครองประกอบด้วย” ดังนั้น ส�านักงานทรัพยากรน�้าแห่งชาติ จึงได้มีการจัดท�า
                                            ี
                                             ุ่
                                                 ี
                                       ่
                 โครงการศึกษาทบทวนการแบงพ้นท่ลมน�้าท่เหมาะสมส�าหรับการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า
                                         ื
                                              ื
                 ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพ่อให้การบริหารจัดการน�้าให้มีความคล่องตัวสอดรับ
                 กับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์น�้าได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
                                   ื
                     หนังสือ “ข้อมูลพ้นฐาน 22 ลุ่มน�้า” เล่มนี้ได้สรุปเนื้อหามาจากรายงานการศึกษา
                 โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งแสดงถึงพัฒนาการแบ่งลุ่มน�้าของประเทศไทย รวมถึง
                                           ั
                       ื
                                                                          ื
                 ข้อมูลพ้นฐานของลุ่มน�้า สภาพท่วไป สภาพภูมิอากาศ ทรัพยากรดิน พ้นท่การเกษตร
                                                                             ี
                 ทรัพยากรป่าไม้และชั้นคุณภาพลุ่มน�้า โครงสร้างพ้นฐานของลุ่มน�้า ความต้องการใช้น�้า
                                                         ื
                 และสภาพปัญหาด้านทรัพยากรน�้า ซึ่งผู้สนใจศึกษาจะได้รับความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
                         ื
                 การแบ่งพ้นท่ลุ่มน�้าใหม่ 22 ลุ่มน�้า รวมถึงรับทราบปัญหาและเห็นความส�าคัญ
                            ี
                                                                                  ื
                                                                                  ่
                 ของการจัดการทรัพยากรน�้าให้เกิดการร่วมมือและบูรณาการกันทุกภาคส่วน  เพอให้
                 เกิดการดูแลรักษาทรัพยากรน�้าอย่างต่อเนื่องทั้งประเทศ

                                                                               2564
   1   2   3   4   5   6   7   8   9