Page 54 - Annual 22 Basin of thailand
P. 54
้
ี
ู่
ี
้
ื
้
เม่อเปรียบเทียบคุณภาพน�าผิวดินในแต่ละภาค พบว่า แหล่งน�าท่มีคุณภาพน�าดีท่สุดอยในภาคตะวันออก
่
ี
้
้
ุ
่
ี
เฉียงเหนือ และแหล่งน�าทมคุณภาพน�าเสอมโทรมทสดอยู่ในภาคกลางเช่นเดียวกับปีทผ่านมา
่
ื
่
ี
ี
ี
้
โดยแหล่งน�าท่คุณภาพน�าเส่อมโทรมท่สุด คือ แม่น�าเจ้าพระยาตอนล่าง (ช่วงอ�าเภอเมืองสมุทรปราการ
้
ี
ื
้
จังหวัดสมุทรปราการ ถึงอ�าเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี) สาเหตุหลักมาจากการปล่อยท้งน�าเสียชุมชน
้
ิ
กิจกรรมทางการเกษตร และอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ในพื้นที่แหล่งน�้าที่มีคุณภาพดีที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่
ี
(1) แม่น�าตาปีตอนบน (2) แควน้อย (3) อูน (4) สงคราม และ (5) ชี และแหล่งน�าท่มีคุณภาพน�าเส่อมโทรม
ื
้
้
้
5 อันดับแรก ได้แก่ (1) ล�าตะคองตอนล่าง (2) แม่น�้าเจ้าพระยาตอนล่าง (3) ท่าจีนตอนล่าง (4) พังราด
ตอนบน และ (5) ท่าจีนตอนกลาง
2.3 ทรัพยากรดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
2.3.1 ทรัพยากรดิน
จากแผนท่ชุดดินกรมพัฒนาท่ดิน มาตราสวน 1:25,000 พบว่า ประเทศไทยมีท้งหมด 63 กลมชุดดิน
ี
ุ่
ั
ี
่
โดยกลุ่มชุดดินที่คลุมพื้นที่มากที่สุด คือ กลุ่มชุดดินที่ 40 ครอบคลุมพื้นที่ 27,038.84 ตารากิโลเมตร
หรือ 16.899 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.24 ของพื้นที่ประเทศไทย ซึ่งกลุ่มชุดดินประเภทนี้จะมีลักษณะ
ี
ดินร่วนหยาบลึกถึงลึกมากท่เกิดจากตะกอนลาน�าหรือวัตถุต้นก�าเนิดเนื้อหยาบ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดหรือ
�
้
เป็นกลาง การระบายน�้าดีถึงดีปานกลางและมีความอุดมสมบูรณ์ต�่า
2.3.2 การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ี
ี
ื
จากแผนท่การใช้ประโยชน์ท่ดินปี 2559 - 2560 ดังแสดงการกระจายตัวของพ้นท่การใช้
ี
ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภทไว้ในรูปที่ 2.3.2-1 สามารถน�ามาประเมินหาการใช้ประโยชน์ที่ดินชนิดต่างๆ
ี
ี
ี
ได้ดังแสดงไว้ในตารางท่ 2.3.2-1 การเปล่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ท่ดินในช่วง 10 ปีท่ผ่านมา
ี
ั
ี
ื
ิ
ิ
ึ
ี
จะเห็นได้ว่าพ้นท่ชุมชนขยายตัวเพ่มข้น 3,532.29 ตารางกิโลเมตร รวมท้งพ้นท่การเกษตรโดยรวมเพ่มข้น
ื
ึ
14,417.14 ตารางกิโลเมตร โดยพ้นท่พืชไร่ ไม้ยืนต้น พืชสวน ไร่หมุนเวียน ทงหญ้าเล้ยงสัตว์ มีพ้นท่เพ่มข้น
ุ่
ี
ี
ื
ิ
ึ
ี
ื
17,919.52 8,834.32 639.96 2,731.49 และ 632.95 ตารางกิโลเมตร ตามล�าดับ ส่วนพื้นที่นา
และไม้ผลมีพื้นที่ลดลง 14,972.58 และ 1,577.69 ตารางกิโลเมตร ตามล�าดับ และพื้นที่ป่าไม้มีพื้นที่
ลดลง 18,837.16 ตารางกิโลเมตร
2.4 พื้นที่การเกษตรที่มีศักยภาพในการพัฒนา
2.4.1 พื้นที่การเกษตรที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกพืช
ี
ข้อมูลแผนท่ชุดดินสามารถแสดงพ้นท่ท่เหมาะสมกับการเพาะปลูกพืชชนิดต่าง ๆ ดังแสดงไว้ในระบบ
ื
ี
ี
แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน์ (Agri-Map Online) ได้แก่ ข้าว อ้อย มันส�าปะหลัง
้
ยางพารา ข้าวโพด สับปะรด ปาล์มน�ามัน กาแฟ มะพราว ลาใย และทุเรียน ไดแสดงตัวเลขพ้นท่ท่เหมาะสม
ี
ื
ี
้
�
้
กับการเกษตรของลุ่มน�้าต่าง ๆ ไว้ในตารางที่ 2.4.1-1
2.4.2 พื้นที่เหมาะสมส�าหรับการชลประทานและท�าการเกษตร
ื
่
ี
้
ื
ในภาพรวมของประเทศไทย ปัจจุบันมีพนทท่เหมาะสมสาหรับการพัฒนาเป็นพ้นท่ชลประทาน
ี
ี
�
ื
�
�
ี
ี
�
ื
ี
57.006 ล้านไร่ และพ้นท่ท่เหมาะสมสาหรับทาการเกษตร 43.652 ล้านไร่ ดังแสดงพ้นท่เหมาะสมสาหรับ
�
การชลประทานและทาการเกษตรไว้ในรูปท่ 2.4.3-1 และสรุปตัวเลขพ้นท่เหมาะสมสาหรับการชลประทาน
�
ี
ี
ื
และท�าการเกษตรไว้ในตารางที่ 2.4.1-1
ขอมูลพื้นฐาน 22 ลมน�า
้
้
ุ่