Page 7 - Ebook-สำหรับผู้สมัครเข้ารับการคัดสรร
P. 7
บทน�ำ
๑. ความเป็นมาและความส�าคัญของกรรมการลุ่มน�้า
ี
�
ด้วยความจาเป็นท่สมควรมีกฎหมายในการบูรณาการเก่ยวกับการจัดสรร การใช้ การพัฒนา
ี
้
ื
�
�
ู
�
้
การบริหารจัดการ การบารุงรักษา การฟื้นฟ การอนุรักษ์ทรัพยากรนา และสิทธิในนา เพ่อให้ทุกหน่วยงาน
ี
ท่เก่ยวข้องสามารถบริหารทรัพยากรนาให้มีความประสานสอดคล้องกันในทุกมิติอย่างสมดุลและ
้
�
ี
ยั่งยืน รวมทั้งวางหลักเกณฑ์ในการประกันสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในการเข้าถึงทรัพยากรน�้า
สาธารณะ ตลอดจนจัดให้มีองค์กรบริหารจัดการทรัพยากรน�้า ทั้งในระดับชาติ ระดับลุ่มน�้า และ
้
�
ื
ระดับองค์กรผู้ใช้นา ซ่งสะท้อนการมีส่วนร่วมของประชาชน เพ่อร่วมกันบริหารทรัพยากรนา
ึ
�
้
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงให้ตราพระราชบัญญัติทรัพยากรนา พ.ศ. ๒๕๖๑
�
้
โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่อวันท ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๑ และมีผลใช้บังคับเม่อ
ี
ื
่
ื
๒๗ มกราคม ๒๕๖๒
๒. พระราชบัญญัติทรัพยากรน�้า พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓ องค์กรบริหารจัดการทรัพยากรน�้า
มาตรา ๙ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า คณะกรรมการทรัพยากรน�้าแห่งชาติ
เรียกโดยย่อว่า “กนช.” ประกอบด้วย (๑) นายกรัฐมนตร เป็นประธานกรรมการ (๒) รองนายกรัฐมนตร ี
ี
ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยต�าแหน่ง ได้แก่ รัฐมนตรี
ั
ี
ี
ั
ว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รฐมนตรว่าการกระทรวงคมนาคม รฐมนตรว่าการกระทรวง
ิ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ั
ิ
รฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจ
ิ
ื
ิ
และสังคมแห่งชาต เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพ่อประสานงานโครงการอันเน่องมาจาก
ื
�
�
้
พระราชดาร และผู้อานวยการสานักงบประมาณ (๔) กรรมการผู้แทนคณะกรรมการลุ่มนาซ่งได้รับ
ึ
�
ิ
�
้
�
้
�
้
�
การคัดเลือกมาจากกรรมการลุ่มนาผู้แทนองค์กรผู้ใช้นา กรรมการลุ่มนาผู้แทนองค์กร
�
�
้
ิ
ปกครองส่วนท้องถ่น และกรรมการลุ่มนาผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน ๖ คน (๕) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒ ซ่ง
ึ
ิ
นายกรัฐมนตรีแต่งตั้ง จ�านวน ๔ คนและมาตรา ๑๐ ให้การคัดเลือกกรรมการผู้แทนคณะกรรมการ
ลุ่มน�้า เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก�าหนดในกฎกระทรวงที่ออกโดยนายกรัฐมนตรี
1
ส�ำนักงำน ทรัพยำกรน�้ำแห่งชำติ