Page 10 - ไปรษณยนิเทศ 2566
P. 10
หมวด ๒ การส่งสิ่งของทางไปรษณีย์ ว่าด้วย
●
ึ
ิ
o ประเภทของส่งของส่งทางไปรษณีย์ ซ่งแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ
ไปรษณียภัณฑ์ (มี ๕ ชนิด ได้แก่ จดหมาย ไปรษณียบัตร ของตีพิมพ์ พัสดุ
ื
ย่อยและเคร่องอ่านสาหรับคนเสียจักษุ) พัสดุไปรษณีย์ และไปรษณีย์
�
ด่วนพิเศษ
�
ิ
ิ
o ข้อกาหนดเฉพาะในการส่งส่งของทางไปรษณีย์ ซ่งกล่าวถึงอานาจสิทธ์ขาด
�
ึ
ของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด ตามพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พุทธศักราช
ึ
ี
๒๔๗๗ ซ่งได้แก่ จดหมายและไปรษณียบัตร รวมท้งกรณียกเว้นเก่ยวกับ
ั
การน�าส่งจดหมายหรือไปรษณียบัตรโดยทางอื่นนอกจากทางไปรษณีย์
o สิ่งของนอกทางไปรษณีย์และการต้องระวางโทษปรับ
o ข้อห้ามในการส่งส่งของท่เป็นจดหมายหรือไปรษณียบัตรหลายฉบับในห่อ
ี
ิ
หรือซองเดียวกัน ยกเว้นการได้รับสิทธิพิเศษตามพระราชบัญญัติไปรษณีย์
พุทธศักราช ๒๔๗๗
ิ
�
o ส่งของต้องห้ามส่งทางไปรษณีย์ การดาเนินการของบริษัท ไปรษณีย์ไทย
ิ
ี
จากัด ต่อการส่งส่งของทางไปรษณีย์ท่เป็นการฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่ง
�
พระราชบัญญัติไปรษณีย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗ และบทก�าหนดโทษ
o สิ่งของที่มีเงื่อนไขการฝากส่งพิเศษ เช่น สิ่งของมีค่า สิ่งของต้องภาษีอากร
�
ิ
หรือต้องกากัดในการนาเข้า ณ ประเทศปลายทาง ส่งของท่ต้องผ่านการ
�
ี
ตรวจสอบจากพนักงานศุลกากร เป็นต้น ซ่งจะสามารถฝากส่งเข้าสู่
ึ
ทางไปรษณีย์ได้โดยต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเง่อนไขท่บริษัท
ี
ื
ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด ก�าหนด
o ไปรษณียภัณฑ์ที่ฝากส่งโดยมิชอบ
หมวด ๓ ตราไปรษณียากร ว่าด้วย นิยาม “ตราไปรษณียากร” วิมัยบัตร
●
ี
การใช้ตราไปรษณียากร ตราไปรษณียากรท่ใช้ชาระค่าบริการไม่ได้ และความผิด
�
เก่ยวกับตราไปรษณียากร เช่น การใช้ตราไปรษณียากรซ่งมีเคร่องหมายแสดงว่า
ื
ึ
ี
ตราไปรษณียากรน้นได้ใช้แล้ว การปลอมแปลงตราไปรษณียากรให้ผิดไป
ั
จากเดิมเพื่อให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีมูลค่าสูงกว่าความเป็นจริง เป็นต้น
๒