Page 23 - ไปรษณยนิเทศ 2566
P. 23
ั
้
ิ
ขอ ๘ บริษัทจะรับผิดชอบต่อส่งของส่งทางไปรษณีย์เม่ออยู่ในทางไปรษณีย์เท่าน้น
ื
ั
ิ
หากส่งของน้นได้พ้นทางไปรษณีย์ไปแล้ว ถือว่าความรับผิดชอบเป็นอันส้นสุดลง
ิ
�
ี
ี
ิ
้
ั
่
ู
ขอ ๙ บริษทไม่จาต้องรับผดในการทสิ่งของส่งทางไปรษณย์ทอย่ในทางไปรษณีย์
่
ี
สูญหาย ส่งผิด เน่นช้า แตกหัก หรือบุบสลาย เว้นไว้แต่ในกรณีพิเศษท่ม ี
ิ
ี
กฎหมาย หรือกฎข้อบังคับระบุไว้แจ้งชัด
ขอ ๑๐ หากปรากฏว่าส่งบรรจุภายในส่งของส่งทางไปรษณีย์เกิดการเสียสภาพหรือ
ิ
ิ
้
เน่าเหม็นในระหว่างทางไปรษณีย์จนอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่พนักงานหรือ
ิ
่
�
ื
ื
อาจทาให้สงของส่งทางไปรษณีย์อ่นๆ หรืออุปกรณ์ไปรษณีย์เปรอะเปื้อนหรอ
ิ
ั
�
ี
เสียหาย บริษัทจะส่งทาลายหรือจัดการอย่างใดตามท่เห็นสมควรแก่ส่งของ
ส่งทางไปรษณีย์นั้นก่อนก�าหนดก็ได้
ข้อก�าหนดเฉพาะในการส่งสิ่งของทางไปรษณีย์
ึ
ี
�
ขอ ๑๑ เม่อบริษัทได้จัดการไปรษณีย์ข้นท่ใดแล้ว ห้ามมิให้บุคคลซ่งไม่ได้รับอานาจ
้
ื
ึ
ตามพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗ หรือกฎหมายอ่น
ื
�
�
ื
ื
ื
ส่ง จัดให้ส่ง ฝาก ส่งมอบให้แก่ผู้อ่นเพ่อให้ไปส่ง นาส่ง หรือกระทาการอ่น
เก่ยวกับการนาส่งจดหมายหรือไปรษณียบัตรโดยทางอ่นนอกจากทางไปรษณีย์
�
ื
ี
เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ๑
ี
๑๑.๑ จดหมายหรือไปรษณียบัตรไม่เกินสามฉบับท่ฝากผู้เดินทางโดยผู้รับฝาก
น้นมิได้รับเงินเดือน ค่าจ้าง รางวัล หรือผลประโยชน์อย่างใดๆ ในการน้น
ั
ั
ื
ิ
ื
ี
ั
ื
ี
ั
ิ
๑๑.๒ จดหมายหรอไปรษณยบตรท่ได้จดให้ผ้เดนหนงสอพเศษถอไปและ
ั
ู
เก่ยวข้อง ด้วยกิจธุระของผู้ฝากหรือผู้รับจดหมายหรือไปรษณียบัตรน้น
ี
ั
โดยเฉพาะ และผู้เดินหนังสือน้นต้องห้ามมิให้รับจดหมายหรือไปรษณียบัตร
ั
จากผู้อื่น หรือน�าส่งจดหมายหรือไปรษณียบัตรให้แก่ผู้อื่น
๑ มาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พุทธศักราช ๒๔๗๗ ประกอบมาตรา ๔ แห่งพระราชกฤษฎีกาก�าหนดอ�านาจ สิทธิ
และประโยชน์ของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ากัด พ.ศ. ๒๕๔๖
๑๕