Page 58 - 2565_คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน AIT
P. 58
ิ
ิ
กำรปฏบัติเมอเกดเหตุฉกเฉนปวยวกฤติ ที่ส่งผลต่อชวตและอวัยวะ
ิ
ี
ิ
ุ
ื่
่
ิ
์
่
ุ
่
เหตุการณฉกเฉินทางสุขภาพจากภัยพิบัติ อบัติเหตุ หรืออาการปวยรุนแรง ส่งผลให้เกิดภาวะเสียง
ุ
์
่
่
ตอการเสียชีวิต สิ่งส าคัญเร่งด่วน คือ ผู้ทีอยูในเหตุการณขณะนั้น สามารถการกู้ชีพ และปฐมพยาบาลอย่าง
่
่
ถูกต้อง รวดเร็ว มีประทธิภาพ เพื่อช่วยให้ผู้ปวย หรือผู้บาดเจ็บทีหมดสติ หยุดหายใจ หัวใจ หยุดเต้น จาก
่
์
่
สถานการณฉกเฉินตาง ๆ เช่น ภาวะหัวใจวายเฉียบพลัน กล้ามเนือหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน จมนา ท างาน
ุ
้
้
้
่
่
่
ในทีอับอากาศ ไฟฟาช๊อต อุบัติเหตุ หรือผู้ปวยจากอาการของโรคทีมีอาการรุนแรง ซึงในช่วงเวลานั้น ๆ
่
่
หรือ ณ จุดเกิดเหตุอย่างถูกต้องและรวดเร็วจะช่วยให้ผู้ปวยรอดชีวิต หรือยืดระยะเวลาให้ผู้ปวยได้รับการส่ง
่
ุ
่
ตอไปยังทีมแพทย์ฉกเฉินได้อย่างปลอดภัย
้
หลักการของการช่วยฟนคืนชีพ ( Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR ) คือ การช่วยให้เกิดการ
ื
ไหลเวียนของเลือดในร่างกาย เพื่อปองกันภาวะสมอง หัวใจ และเนือเยือของอวัยวะส าคัญขาดออกซิเจน
้
่
้
่
็
้
การปฐมพยาบาลฉกเฉิน จึงเปนความรู้ขั้นพืนฐานทีทุกคนต้องได้รับการอบรม หรือเรียนรู้เพื่อเพิ่ม
ุ
โอกาสรอดของผู้ปวย ผู้บาดเจ็บ
่
้
ดังนั้น การปฐมพยาบาลฉกเฉนและการกู้ชีพขั้นพืนฐาน ประกอบด้วยความรู้ ในการประเมิน
ุ
้
่
้
ื
์
่
สถานการณ การประเมินผู้ปวย การช่วยฟนคืนชีพขั้นพืนฐาน รวมถึงการใช้เครืองเออีดี (ถ้ามี ) และการ
ุ
่
ปฐมพยาบาลฉกเฉินภาวะทีส าคัญต่าง ๆ ตอการคุกคามชีวิต เพื่อสร้างศักยภาพตนเองให้สามารถช่วยชีวิต
่
ผู้ทีตกอยูในสถานการณฉกเฉินด้านสุขภาพให้รอดปลอดภัย
่
่
ุ
์
่
่
การประเมินผู้ปวย คือ การตรวจประเมินอาการของผู้ปวย เพื่อวางแผนให้การปฐมพยาบาลเบืองต้น
้
ต้องด าเนินการอย่างรวดเร็ว ( ไม่ควรใช้เวลานานเกิน 1 นาที ) มุ่งการประเมินภาวะคุกคามชีวิต ได้แก ่
่
้
ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนเลือด กรณีทีผู้ช่วยเหลือต้องท าการช่วยฟนคืนชีพ (CPR) ผู้ปวยต้องมีภาวะ
ื
่
ดังนี ้
้
ื
หมดสติ หยุดหายใจ หรอหายใจเฮอก หัวใจหยุดเตน
ื
่
่
่
กรณีทีผู้ช่วยเหลือประเมินสภาพทั่วไปของผู้ปวย พบภาวะทีต้องให้การปฐมพยาบาลแตไม่ต้องช่วย
่
้
่
่
้
่
้
ื
้
ฟนคืนชีพ ได้แก ผู้ปวยกระพริบตา พูด หรือไอ หนาอกหนาท้องกระเพื่อมขึนลง ขยับตัว แสดงว่า ผู้ปวย
รู้สึกตัวและหายใจ
่
( ให้การปฐมพยาบาลตามอาการทีพบ )
54